เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

กระชุก คือ

การออกเสียง:
"กระชุก" อังกฤษ
ความหมายมือถือ

  • น. ภาชนะสานรูปกลมสูง สำหรับบรรจุของเช่นนุ่นหรือถ่าน, กระชุ ก็ว่า; อัตราตวงของโบราณ มีพิกัดเท่ากับ ๕ สัด, และ ๔ กระชุก เป็น ๑ ตะลอง.

    น. ภาชนะสานรูปฟักผ่าตามยาว ใช้สอดลงในเกวียน สำหรับใส่ข้าวเปลือกเป็นต้น, สามชุก ก็เรียก.
  • กร     ๑ กอน น. ผู้ทำ, ใช้ประกอบเป็นส่วนหลังของสมาส เช่น กรรมกร เกษตรกร. ( ป. ). ๒ กอน น. มือ (มักใช้ในบทประพันธ์); แขน เช่น
  • กระ     ๑ น. ชื่อเต่าทะเลชนิด Eretmochelys imbricata ในวงศ์ Cheloniidae หลังเป็นเกล็ดแผ่นโต ๆ
  • กระชุ     ๑ น. ภาชนะสานรูปกลมสูง สำหรับบรรจุของ เช่นนุ่นหรือถ่าน, กระชุก ก็ว่า. ๒ น. ต้นกระทุ. ( ดู กระทุ ).
  • ระ     ก. กระทบเรียดไป เช่น เอาไม้ระรั้วสังกะสี.
  • ชุ     ( กลอน ) น. ต้นไม้ เช่น กินลูกชุลุเพรางาย. ( ม. คำหลวง ทานกัณฑ์). ( ต. ชุ ว่า ต้นไม้).
  • ชุก     ว. มีดื่น, มีมากมาย, เช่น มะม่วงชุก, มีบ่อย ๆ เช่น ฝนชุก.
  • ประชากรรุ่นลูก    รุ่นลูก ลูกสัตว์ ลูกผสมของพืช ลูกหลานของมนุษย์ สายพันธุ์ที่ได้จากการปรับปรุงพันธุ์
  • ตระชัก    ตฺระ- ว. เย็น, บางทีใช้ ตระจัก ตามเสียงเขมร. (ข. ตฺรชาก่).
  • กระชง    (โบ) ว. งง, ชะงัก, ประหม่า, เช่น นอนกระชงใจคราง ครั่นแค้น. (นิ. ตรัง), ภาษาถิ่นปักษ์ใต้ใช้ว่า ชง.
  • กระชัง    ๑ น. บังสาดที่ปิดและเปิดได้. (เทียบ ช. กระรันชัง = กระจาด). ๒ น. เครื่องสำหรับขังปลาชนิดหนึ่ง ใช้ไม้ไผ่ทำเป็นกง ๔ อัน แล้วผูกด้วยซี่ไม้ไผ่โดยรอบ รูปกลม หัวท้ายเรียว ตอนบนเจาะเป็นช่อง มีฝาปิด ใช้ไม้ข
  • กระชับ    ๑ น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Xanthium strumarium L. ในวงศ์ Compositae มักขึ้นเป็นวัชพืชในทุ่งนาและริมน้ำ ลำต้นและใบคาย ใบมนเว้า ขอบจัก โคนใบแหลม ดอกเล็กรวมเป็นกระจุก ผลรี ยาวประมาณ ๑ เซนติเมตร มีหนามปลายง
  • กระชั้น    ว. ใกล้ชิด (เข้ามา) (ใช้แก่เวลาหรือเหตุการณ์) เช่น เวลากระชั้นเข้ามา ขี่ม้าขับกระชั้นมา, เร่งเข้า เช่น ไก่ขันกระชั้นเสียง, นิยมใช้เข้าคู่กับคำ กระโชก เป็น กระโชกกระชั้น.
  • กระชิง    น. เครื่องเข้ากระบวนแห่ของหลวงชนิดหนึ่ง เช่น กระชิงหุ้มผ้าแดงได้แต่หลานหลวงอยู่ในวัง อยู่นอกวังกระชิงหุ้มผ้าขาวเลว. (กฎมนเทียรบาล). (ดู กรรชิง).
  • กระชิด    ๑ ว. ชิดทีเดียว เช่น ว่องไวไล่กระชิดติดพัน. (รามเกียรติ์ ร. ๒). ๒ (ถิ่น-ปักษ์ใต้) น. ต้นข่อยหนาม. (ดู ข่อยหนาม).
  • กระชุน    ดู กระทุน.