เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

กระทรวงการต่างประเทศ คือ

สัทอักษรสากล: [Kra sūang Kān tāng pra thēt]  การออกเสียง:
"กระทรวงการต่างประเทศ" การใช้"กระทรวงการต่างประเทศ" อังกฤษ"กระทรวงการต่างประเทศ" จีน
ความหมายมือถือ
  • 1) n.
    2) n.
    ชื่อกระทรวงที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการติดต่อเพื่อเชื่อมสัมพันธไมตรีกับต่างประเทศ

    clf.: กระทรวง
  • กร     ๑ กอน น. ผู้ทำ, ใช้ประกอบเป็นส่วนหลังของสมาส เช่น กรรมกร เกษตรกร. ( ป. ). ๒ กอน น. มือ (มักใช้ในบทประพันธ์); แขน เช่น
  • กระ     ๑ น. ชื่อเต่าทะเลชนิด Eretmochelys imbricata ในวงศ์ Cheloniidae หลังเป็นเกล็ดแผ่นโต ๆ
  • กระทรวง     ๑ -ซวง น. หมู่, พวก, เช่น ทุกหมวดทุกกระทรวงทรง ฤทธิเรื้อง. ( ยอพระเกียรติกรุงธน ), ชนิด, อย่าง, เช่น อนึ่งนั้นอุเบกขาว่าเพ่งเฉย
  • ระ     ก. กระทบเรียดไป เช่น เอาไม้ระรั้วสังกะสี.
  • ทร     ทอระ- คำอุปสรรค แปลว่า ชั่ว, ยาก, ลำบาก, น้อย, ไม่มี, เช่น ทรชน ทรลักษณ์ ทรพล. ( ป. ทุ, ทุรฺ; ส. ทุสฺ).
  • ทรวง     ซวง น. อก, ใจ, มักใช้เข้าคู่กับคำ อก เป็น ทรวงอก, โดยมากใช้ในบทกลอน, ที่ใช้เป็นสามัญก็มีบ้าง เช่น เย็นทรวง. ( ข. ทฺรูง).
  • รวง     ๑ น. ช่อ (ใช้แก่ข้าว); ลักษณนาม เช่น ข้าวรวงหนึ่ง ข้าว ๒ รวง. ๒ น. คำกำกับชื่อปีในวิธีนับศักราชของไทยเหนือ ตรงกับเลข ๘, เขียนเป็น ลวง ก็มี.
  • วง     น. รูปที่มีเส้นที่โค้งเข้ามาบรรจบกัน ล้อมรอบเป็นขอบเขตสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น วงกลม วงรี, โดยปริยายหมายถึงลักษณะที่รวมกันเป็นหมู่เป็นกลุ่ม เช่น
  • วงการ     น. กลุ่มบุคคลที่มีอาชีพหรือความสนใจอย่างเดียวหรือในแนวเดียวกัน เช่น วงการธุรกิจ วงการบันเทิง วงการครู.
  • งก     ๑ ก. แสดงอาการอยากได้หรือไม่อยากเสียจนเกินควร. ว. มีอาการสั่นอย่างคนแก่หรืออย่างกลัวหรืออย่างหนาวมาก. ๒ น.
  • กา     ๑ น. ชื่อนกชนิด Corvus macrorhynchos ในวงศ์ Corvidae ตัวดำ ร้องกา ๆ, อีกา ก็เรียก; ชื่อดาวฤกษ์ธนิษฐา เช่น แม้นดาวกามาใกล้ในมนุษย์. ( อภัย ).
  • การ     ๑ น. งาน, สิ่งหรือเรื่องที่ทำ, มักใช้เข้าคู่กับคำ งาน เช่น การงาน เป็นการเป็นงาน ได้การได้งาน, ถ้าอยู่หน้านาม หมายความว่า เรื่อง, ธุระ, หน้าที่,
  • การต่างประเทศ     น. ชื่อกระทรวงที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการต่างประเทศ.
  • ต่าง     ๑ น. ภาชนะสำหรับบรรทุกสิ่งของมีคานพาดไว้บนหลังสัตว์พาหนะมีวัวและลาเป็นต้น ให้ห้อยลงมาทั้ง ๒ ข้าง, เรียกโค ลา
  • ต่างประเทศ     n. ประเทศอื่น, ถิ่นฐานดินแดนอื่น ชื่อพ้อง: เมืองนอก, ต่างแดน, ต่างถิ่น คำตรงข้าม: ในประเทศ ตัวอย่างการใช้:
  • ปร     ปะระ-, ปอระ- ว. อื่น, ใช้เป็นบทหน้าสมาส เช่น ปรปักษ์ ปรโลก. ( ป. ).
  • ประ     ปฺระ ใช้เติมหน้าคำอื่นเพื่อให้คำหนักแน่นขึ้น เช่น ชิด เป็น ประชิด, ท้วง เป็น ประท้วง; คำที่แผลงมาจาก ผ เช่น ผทม เป็น ประทม แล้วแผลง ประ เป็น บรร
  • ประเทศ     น. บ้านเมือง, แว่นแคว้น; คำเพิ่มข้างหลังของคำเดิม เมื่อเพิ่มแล้วความหมายคงเดิม เช่น อุรประเทศ หทัยประเทศ. ( ส. ; ป. ปเทส); ( กฎ )
  • เท     ก. ตะแคงหรือเอียงภาชนะเพื่อให้สิ่งที่อยู่ในนั้นไหลลงไปหรือออกไป เช่น เทน้ำ เทขยะ, โดยปริยายหมายถึงกิริยาอาการคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ฝนตกลงมามาก ๆ
  • เทศ     เทด, เทดสะ-, เทสะ ว. ต่างประเทศ เช่น เครื่องเทศ ม้าเทศ. น. ถิ่นที่, ท้องถิ่น, มักใช้เป็นส่วนหน้าสมาส.
  • ทศ     ๑ ทด, ทดสะ- น. เรียกเหรียญทองสมัยรัชกาลที่ ๔ ชนิดหนึ่ง มีค่าเท่ากับ ๑ ใน ๑๐ ของชั่ง = ๘ บาท ว่า ทองทศ. ว. สิบ, มักใช้เป็นส่วนหน้าสมาส. ๒
ประโยค
  • ช่วงนี้กระทรวงการต่างประเทศมาตรฐานตกลงแล้วหรือ
  • รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ต้องการพบคุณ
  • ทั้งผู้นำสภาคองเกรส และรมต.กระทรวงการต่างประเทศ
  • ทั้งผู้นำสภาคองเกรส และรมต.กระทรวงการต่างประเทศ
  • เป็นพวกนักบัญชีทำงานอยู่ที่ กระทรวงการต่างประเทศ
  • ผมอยากให้คุณหาเบอร์โทร กระทรวงการต่างประเทศให้ผม
  • เราขึ้นกับกรมตำรวจเกาหลี กระทรวงการต่างประเทศ
  • รัฐมนตรีกระทรวงการต่างประเทศ ได้ตัดสินใจก่อนกำหนด
  • ศูนย์เทคโนโลยีและสารสนเทศ กระทรวงการต่างประเทศ
  • กระทรวงการต่างประเทศที่จะรับเลขานุการที่ทำสัญญา
  • ตัวอย่างการใช้เพิ่มเติม:  1  2  3  4  5