กระพอก คือ
สัทอักษรสากล: [kra phøk] การออกเสียง:
"กระพอก" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
- ๑
น. กล่องสานมีฝาครอบสำหรับใส่อาหาร; หม้อ (มงคลทีปนีแปลร้อย กุมภชาดก); กระบะสำหรับใส่กับข้าว เช่น ร่วมกระพอกจอกจานร้านเรือนเดียว. (สุ. สอนเด็ก ); การเลี้ยงกัน, ที่เลี้ยงกัน. (อะหม พอก ว่า เลี้ยงกัน).
๒
ก. พรอก, พูด, เช่น ฟังเสียงกากระพอก บอกข่าวท้าวเสด็จดล. (ลอ ).
- กร ๑ กอน น. ผู้ทำ, ใช้ประกอบเป็นส่วนหลังของสมาส เช่น กรรมกร เกษตรกร. ( ป. ). ๒ กอน น. มือ (มักใช้ในบทประพันธ์); แขน เช่น
- กระ ๑ น. ชื่อเต่าทะเลชนิด Eretmochelys imbricata ในวงศ์ Cheloniidae หลังเป็นเกล็ดแผ่นโต ๆ
- ระ ก. กระทบเรียดไป เช่น เอาไม้ระรั้วสังกะสี.
- พอ ว. เท่าที่ต้องการ, ควรแก่ความต้องการ, เต็มเท่าที่จำเป็น, เต็มตามต้องการ, เช่น ในการเดินทางจะต้องเตรียมเงินไปเท่าไรจึงจะพอ; เหมาะ, เพียงทำได้, ควร;
- พอก ๑ ก. หุ้ม เช่น พอกไข่, พูน, โปะให้หนา เช่น พอกแป้ง. ว. โป่งออกมา เช่น คอพอก. ๒ ( กลอน ) ก. โพกผ้า. น. ผ้าโพกคล้ายหมวก. ๓ น.
- อก ๑ น. ส่วนของร่างกายด้านหน้าอยู่ระหว่างคอกับท้อง; ใจ เช่น อกกรม อกเขาอกเรา; เรียกไม้ที่เป็นแกนกลางของตัวว่าวว่า อกว่าว;
- กระพอกวัว น. ชื่อนกชนิดหนึ่ง. (พจน. ๒๔๙๓).
- กระพอง ๑ น. ส่วนที่นูนเป็นปุ่ม ๒ ข้างศีรษะช้าง, ตระพอง ตะพอง หรือ กะพอง ก็ว่า. ๒ น. ชื่อตัวไม้อันบนที่เป็นราวลูกกรงเรือนหรือเกวียน, กำพอง ก็เรียก.
- ปกกระพอง น. เครื่องปกส่วนที่นูนเป็นปุ่ม ๒ ข้างหัวช้าง.
- ตระพอง ตฺระ- น. ส่วนที่นูนเป็นปุ่ม ๒ ข้างศีรษะช้าง, กะพอง กระพอง หรือ ตะพอง ก็ว่า.
- กระพัก น. โขดหินหรือไหล่เขาที่เป็นขั้น ๆ พอพักได้ เช่น บ้างก็เป็นกระพักกระเพิงกระพังพุ. (ม. ร่ายยาว กุมาร), ตะพัก ก็ว่า.
- กระพัง ๑ น. แอ่ง, บ่อ, หนอง, ตระพัง ตะพัง หรือ สะพัง ก็เรียก. (เทียบ ข. ตฺรพำง ว่า บ่อที่เกิดเอง). ๒ น. ภาชนะชนิดหนึ่ง สำหรับใส่น้ำทำพิธีต่าง ๆ ตามลัทธิไสยศาสตร์ เรียกว่า “กระพังน้ำ” ซึ่งน่าจะมีรูปคล้ายกับ
- กระพัด น. เชือกหรือลวดหนังตีเป็นเกลียวหุ้มผ้าแดง ปรกติคล้องผูกอยู่รอบคอช้าง เมื่อตั้งสัปคับหรือกูบอย่างใดอย่างหนึ่ง ใช้ปลายทั้ง ๒ ข้างผูกสัปคับหรือกูบเพื่อรั้งมิให้เลื่อนไปทางท้ายช้างขณะเดินขึ้นที่ชัน, เขี
- กระพัตร -พัด น. เชือกหรือลวดหนังตีเป็นเกลียวหุ้มผ้าแดง ปรกติคล้องผูกอยู่รอบคอช้าง เมื่อตั้งสัปคับ หรือกูบอย่างใดอย่างหนึ่ง ใช้ปลายทั้ง ๒ ข้างผูกสัปคับหรือกูบเพื่อรั้งมิให้เลื่อนไปทางท้ายช้างขณะเดินขึ้นที่ชั
- กระพัน ว. ทนทานต่อศัสตราวุธ, มักใช้ควบกับ ชาตรี เป็น คงกระพันชาตรี. (เทียบ มลายู กะบัล).