กระพังโหม คือ
สัทอักษรสากล: [kra phang hōm] การออกเสียง:
"กระพังโหม" การใช้"กระพังโหม" อังกฤษ"กระพังโหม" จีน
ความหมายมือถือ
- น. ชื่อไม้เถาชนิด Oxystelma secamone (L.) Karst. ในวงศ์ Asclepiadaceae ทั้งต้นมียางขาว ใบแคบเรียวแหลม ออกเป็นคู่ตรงข้ามกัน มีนวล ดอกสีม่วงแกมชมพู ใช้ทำยาได้ ใบและเถาใช้เป็นอาหาร, จมูกปลาหลด จมูกปลาไหล หรือ ผักไหม ก็เรียก.
- กร ๑ กอน น. ผู้ทำ, ใช้ประกอบเป็นส่วนหลังของสมาส เช่น กรรมกร เกษตรกร. ( ป. ). ๒ กอน น. มือ (มักใช้ในบทประพันธ์); แขน เช่น
- กระ ๑ น. ชื่อเต่าทะเลชนิด Eretmochelys imbricata ในวงศ์ Cheloniidae หลังเป็นเกล็ดแผ่นโต ๆ
- กระพัง ๑ น. แอ่ง, บ่อ, หนอง, ตระพัง ตะพัง หรือ สะพัง ก็เรียก. ( เทียบ ข. ตฺรพำง ว่า บ่อที่เกิดเอง). ๒ น. ภาชนะชนิดหนึ่ง สำหรับใส่น้ำทำพิธีต่าง ๆ
- ระ ก. กระทบเรียดไป เช่น เอาไม้ระรั้วสังกะสี.
- พัง ๑ ก. ทลาย เช่น บ้านพัง ตึกพัง, ทำให้ทลาย เช่น พังบ้าน พังประตู. ๒ น. ช้างตัวเมีย เรียกว่า ช้างพัง.
- โหม ๑ โหมะ- น. การเซ่นแก่เทพดาของพวกพราหมณ์โดยใช้เนยเผาในไฟ; การบูชายัญ, การเซ่นสรวงทั้งปวง. ( ป. , ส. ). ๒ โหมฺ ก. ระดม เช่น โหมกำลัง
- โหมกระพือ กระพือ ลุกเป็นไฟ
- กระโหม -โหมฺ (กลอน) ก. โหม เช่น ศัพท์ส้าวกระโหมโครม. (บุณโณวาท).
- กระดูกสันหลังโหว่ กระดูกสันหลังแยกมาแต่กำเนิด
- ช้างโหม กระแจะ กําลังช้างสาร ช้างน้าว ช้างโน้ม ตานนกกรด
- โหระพา น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Ocimum basilicum L. ในวงศ์ Labiatae ใบมีกลิ่นฉุน กินได้.
- โหมกระหน่ำ v. ระดมกันเข้ามาอย่างรุนแรง ตัวอย่างการใช้: หมู่บ้านหลายหมู่บ้านถูกพายุโหมกระหน่ำจนบ้านเรือนพังทลาย
- โหมกระหน่ํา พัดอย่างรุนแรง พัดกระหน่ํา ลุกลาม แพร่กระจายอย่างรวดเร็ว
- ฆ้องโหม่ง น. ฆ้องขนาดใหญ่กว่าฆ้องเหม่ง มีเชือกร้อยรูทั้ง ๒ ที่ใบฉัตร แขวนห้อยทางตั้งกับขาหยั่งหรือคานไม้ ตรงหัวไม้ที่ใช้ตีพันด้วยผ้ากับเชือกให้เป็นปุ่มโตอ่อนนุ่ม เวลาตีจะมีเสียงดังโหม่ง ๆ ใช้ตีกำกับจังหวะในวง
- ต้นโหระพา โหระพา ใบโหระพา