เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

กระเจอะกระเจิง คือ

สัทอักษรสากล: [kra joe kra joēng]  การออกเสียง:
"กระเจอะกระเจิง" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
  • ว. แตกหมู่เพ่นพ่านไป, เตลิดไป, เช่น เฒ่าก็เที่ยวสัญจรกระเจอะกระเจิง. (ม. ร่ายยาว ชูชก), กองทัพข้าศึกถูกตีแตกกระเจิดกระเจิงไป.
  • กร     ๑ กอน น. ผู้ทำ, ใช้ประกอบเป็นส่วนหลังของสมาส เช่น กรรมกร เกษตรกร. ( ป. ). ๒ กอน น. มือ (มักใช้ในบทประพันธ์); แขน เช่น
  • กระ     ๑ น. ชื่อเต่าทะเลชนิด Eretmochelys imbricata ในวงศ์ Cheloniidae หลังเป็นเกล็ดแผ่นโต ๆ
  • ระ     ก. กระทบเรียดไป เช่น เอาไม้ระรั้วสังกะสี.
  • เจ     น. อาหารที่ไม่ปรุงด้วยเนื้อสัตว์ และผักบางชนิดเช่นกระเทียม กุยช่าย ผักชี, แจ ก็ว่า. ( จ. ว่า แจ).
  • เจอ     ก. พบ, เห็น, ประสบ, ประจวบ.
  • เจอะ     ก. พบ, เห็น, ประสบ, ประจวบ.
  • จอ     ๑ น. ชื่อปีที่ ๑๑ ของรอบปีนักษัตร มีหมาเป็นเครื่องหมาย. ๒ น. ผ้าขาวที่ขึงไว้สำหรับเชิดหนังหรือฉายภาพยนตร์เป็นต้น;
  • กระเจิง     ว. เลยไป, หลงไป, แตกจากหมู่ไป, นิยมใช้เข้าคู่กับคำ กระเจอะ กระเจิด เป็น กระเจอะกระเจิง กระเจิดกระเจิง.
  • จิ     ( แบบ ) ก. จะ เช่น จิปากทั้งลิ้นล้า เพื่อเจ้าเจียรจันทร์. ( ทวาทศมาส ).
  • กระเจิดกระเจิง    ว. แตกหมู่เพ่นพ่านไป, เตลิดไป, เช่น กองทัพข้าศึกถูกตีแตกกระเจิดกระเจิงไป. (ดู กระเจอะกระเจิง).
  • ขวัญกระเจิง    v. ตกใจกลัวจนแทบหมดสติ ชื่อพ้อง: ขวัญหาย, ขวัญหนีดีฝ่อ, ขวัญเสีย ตัวอย่างการใช้: ฉันเพียงแค่ตวาดทีเดียว พวกมันก็ขวัญกระเจิงกันหมดแล้ว
  • กระเจา    น. (๑) ชื่อไม้ล้มลุกหลายชนิดในสกุล Corchorus วงศ์ Tiliaceae ขึ้นอยู่ในที่ลุ่ม เปลือกต้นเหนียว เมื่อลอกออกแล้ว เรียกว่า ปอ เช่น ปอกระเจาฝักกลม (C. capsularis L.) ผลป้อม เปลือกย่นเป็นตุ่ม ๆ ใบใช้เป็นอ
  • กระเจียว    น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Curcuma sessilis Gage ในวงศ์ Zingiberaceae ลักษณะคล้ายต้นกระชาย มีหัวใต้ดิน ขณะออกดอกไม่มีใบ ช่อดอกเป็นช่อตั้ง ดอกสีขาว อยู่ระหว่างกาบสีขาวปลายสีม่วง ใช้ประกอบอาหารได้, พายัพเรี
  • กระเจี้ยง    น. ชื่อกล้วยไม้อิงอาศัยชนิด Epigeneium amplum (Lindl.) Summerh. ในวงศ์ Orchidaceae ดอกใหญ่ ทั้งกลีบนอกและกลีบในสีเหลืองประแดง, เอื้องศรีเที่ยง ก็เรียก.
  • กระเจี๊ยบ    น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Abelmoschus esculentus (L.) Moench ในวงศ์ Malvaceae ผลสีเขียว ยาวประมาณ ๑๒ เซนติเมตร ใช้เป็นผัก, กระเจี๊ยบมอญ มะเขือทวาย หรือ มะเขือมอญ ก็เรียก.