กราดเกรี้ยวกับ คือ
"กราดเกรี้ยวกับ" อังกฤษ
- กร ๑ กอน น. ผู้ทำ, ใช้ประกอบเป็นส่วนหลังของสมาส เช่น กรรมกร เกษตรกร. ( ป. ). ๒ กอน น. มือ (มักใช้ในบทประพันธ์); แขน เช่น
- กราด ใช้เข้าคู่กับคำ กรีด เป็น กรีดกราด. ๑ กฺราด น. ไม้กวาดที่ทำเป็นซี่ยาว ๆ ห่าง ๆ มีด้ามยาวสำหรับใช้กวาดที่ลานวัดเป็นต้น. ( ข. จฺราศ). ก.
- กราดเกรี้ยว ก. แสดงกิริยาท่าทางพร้อมทั้งดุด่าว่ากล่าวเป็นต้นอย่างรุนแรงด้วยความโกรธ, เกรี้ยวกราด ก็ใช้.
- รา ๑ น. ไม้ที่กระหนาบอยู่ใต้ท้องพรึงรับพื้นเรือนเพื่อไม่ให้พื้นอ่อน อยู่ระหว่างรอด; ไม้จีมเสาที่ปากหลุมซึ่งยังไม่ได้กลบดินเพื่อกันไม่ให้โอนเอน
- ราด ก. เทของเหลว ๆ เช่นน้ำให้กระจายแผ่ไปหรือให้เรี่ยรายไปทั่ว เช่น ราดน้ำ ก๋วยเตี๋ยวราดหน้า ข้าวราดแกง, โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น
- เก ว. ไม่ตรงตามแนว, ไม่เป็นระเบียบ, (ใช้แก่ของที่เป็นซี่เป็นลำ) เช่น ฟันเก ขาเก; ไม่ยอมปฏิบัติตามระเบียบ; เกะกะ, เกเร; ( ปาก )
- เกรี้ยว เกฺรี้ยว ว. อาการที่แสดงความเดือดดาลหรือโกรธมาก เช่น อนิจจามาร้องอยู่เกรี้ยว ๆ. ( มโนห์รา ).
- กรี ๑ กะรี ( แบบ ) น. ช้าง เช่น ถัดนั้นพลนิกรพวกกรี. ( ม. คำหลวง มหาราช). ๒ กฺรี ( กลอน ) ย่อมาจาก กรีธา เช่น ให้เรานี้กรีพลออกเดินไพร. (
- รี ว. เรียว, ถ้ากลมเรียวอย่างรูปไข่ เรียกว่า กลมรี, ถ้ายาวเรียวและมีหัวท้ายอย่างเมล็ดข้าวสาร เรียกว่า ยาวรี, ไม่กลม เช่น วงรี, ยาว เช่น หันรีหันขวาง
- รี้ ( โบ ) น. พล, พลรบ, กองทัพ, กองทหาร. ก. ยกไป, เดินไป.
- วก ก. หักเลี้ยวกลับ เช่น รถเลยที่หมายแล้ววกกลับ, ในบทกลอนใช้แผลงเป็น พก ก็มี.
- กับ ๑ น. เครื่องดักสัตว์ชนิดหนึ่ง มีลิ้นหรือไก เมื่อไปกระทบเข้าก็จะปิดหรืองับทันที, โดยปริยายหมายถึงอุบายที่ใช้ล่อให้หลงเชื่อ. ๒
- เกรี้ยวกราด ก. แสดงกิริยาท่าทางพร้อมทั้งดุด่าว่ากล่าวเป็นต้นอย่างรุนแรงด้วยความโกรธ, กราดเกรี้ยว ก็ใช้.
- ทําให้เกรี้ยวกราด ทําให้เดือดดาล ทําให้โกรธเป็นฟืนเป็นไฟ ทําให้โมโห
- อย่างเกรี้ยวกราด อย่างกระโชกโฮกฮาก อย่างหยาบคาย