กราวด่าง คือ
สัทอักษรสากล: [krāo dāng] การออกเสียง:
"กราวด่าง" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
- ดู ม่านลาย.
- กร ๑ กอน น. ผู้ทำ, ใช้ประกอบเป็นส่วนหลังของสมาส เช่น กรรมกร เกษตรกร. ( ป. ). ๒ กอน น. มือ (มักใช้ในบทประพันธ์); แขน เช่น
- กราว ๑ กฺราว ( โบ ; คำเดียวกับ จราว) น. ตะพาบน้ำ เช่น ตัวกราวมีกริวพ่นชลสินธุ์. ( ดู ตะพาบ, ตะพาบน้ำ ). ๒ กฺราว ว. เสียงดังคล้ายเช่นนั้น
- รา ๑ น. ไม้ที่กระหนาบอยู่ใต้ท้องพรึงรับพื้นเรือนเพื่อไม่ให้พื้นอ่อน อยู่ระหว่างรอด; ไม้จีมเสาที่ปากหลุมซึ่งยังไม่ได้กลบดินเพื่อกันไม่ให้โอนเอน
- ราว ๑ น. แถว, แนว, เช่น ราวป่า; เครื่องยึดเหนี่ยวสำหรับเกาะหรือขึ้นลงเป็นต้น เช่น ราวบันได ราวสะพาน, เรียกไม้ โลหะ
- ด่า ก. ใช้ถ้อยคำว่าคนอื่นด้วยคำหยาบช้าเลวทราม.
- ด่าง ๑ น. น้ำขี้เถ้าที่เกรอะหรือแช่ไว้ มีรสกร่อย ๆ สำหรับทำยาและกัดสิ่งของ; ( วิทยา ) สารประกอบจำพวกไฮดรอกไซด์ของโลหะแอลคาไล ซึ่งละลายน้ำได้ดี
- สายกราวด์ สายดิน
- แบ็คกราวด์ ฉากหลัง
- ต่อสายกราวด์ ต่อสายดิน
- คราวดี คราวมงคล ศุภเคราะห์ โอกาสดี
- ราชาวดี ๑ น. เรียกการลงยาชนิดหนึ่งสำหรับเคลือบทองให้เป็นสีต่าง ๆ เช่น เขียว แดง ฟ้า ว่า ลงยาราชาวดี. (เปอร์เซีย). ๒ น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Buddleja paniculata Wall. ในวงศ์ Buddlejaceae ดอกสีขาวออกเป็นช่อยาว กลิ
- อมราวดี น. ชื่อเมืองของพระอินทร์. (ส. อมราวดี).
- อาณาจักรทวาราวดี ทวาราวดี
- (นิ. ทวาราวดี) มาจาก นิราศทวาราวดี ของ หลวงจักรปาณี (ฤกษ์) และบทละครเรื่อง มณีพิไชย พระราชนิพนธ์ ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย และ พระนิพนธ์ ในพระเจ้าบรมวงศ์เธ
- ตรังควชิราวดี น. ชื่อกาพย์ชนิดหนึ่ง, คู่กับ มหาตรังคนที.