เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

การดัดแปลงเสียง คือ

การออกเสียง:
"การดัดแปลงเสียง" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
  • การพากย์เสียง
    ศิลปะการดัดแปลงเสียง
  • กา     ๑ น. ชื่อนกชนิด Corvus macrorhynchos ในวงศ์ Corvidae ตัวดำ ร้องกา ๆ, อีกา ก็เรียก; ชื่อดาวฤกษ์ธนิษฐา เช่น แม้นดาวกามาใกล้ในมนุษย์. ( อภัย ).
  • การ     ๑ น. งาน, สิ่งหรือเรื่องที่ทำ, มักใช้เข้าคู่กับคำ งาน เช่น การงาน เป็นการเป็นงาน ได้การได้งาน, ถ้าอยู่หน้านาม หมายความว่า เรื่อง, ธุระ, หน้าที่,
  • การดัดแปลง     การลดหย่อน แบบดัดแปลงมา การเปลี่ยนแปลงได้ การแก้ไข การปรับเปลี่ยน การเปลี่ยนแปลงแก้ไข
  • รด     ก. เท ราด สาด ฉีด หรือโปรยน้ำหรือของเหลวไปยังสิ่งใดสิ่งหนึ่งเพื่อให้เปียกหรือให้เปียกชุ่ม เช่น รดน้ำต้นไม้ เอาน้ำรดตัว;
  • ดัด     ๑ ก. ทำให้คดหรือตรงตามประสงค์ เช่น ดัดไม้ ดัดนิสัย; ทำให้เที่ยงตรง เช่น พระดัดคดีดล โดยเยี่ยง ยุกดิ์นา. ( ตะเลงพ่าย ); ปลุก เช่น
  • ดัดแปลง     -แปฺลง ก. แก้ไขเปลี่ยนแปลงให้เหมาะสม, เปลี่ยนจากรูปเดิมโดยแก้ไขเปลี่ยนแปลงบ้างเล็กน้อย, เช่น ดัดแปลงเรือนชั้นเดียวให้เป็น ๒ ชั้น; ( กฎ )
  • แป     น. ส่วนหนึ่งของโครงสร้างหลังคา วางอยู่บนโครงสร้างอื่น ๆ ได้แก่ จันทัน ปลายเต้า เสาตุ๊กตา ปลายขื่อ และปลายขื่อประธาน
  • แปล     แปฺล ก. ถ่ายความหมายจากภาษาหนึ่งมาเป็นอีกภาษาหนึ่ง, ทำให้เข้าใจความหมาย.
  • แปลง     ๑ แปฺลง น. ที่โล่งแห่งหนึ่ง ๆ เช่น คล้องช้างกลางแปลง, พื้นที่ที่กำหนดไว้แห่งหนึ่ง ๆ เช่น นาแปลงหนึ่ง,
  • ปลง     ปฺลง ก. เอาลง เช่น ปลงหม้อข้าว, ปล่อยหรือเปลื้องให้พ้นไป (ในลักษณะที่รู้สึกว่าหนักอยู่) เช่น ปลงหาบ; เมื่อใช้ประกอบกับคำอื่น มีความหมายต่าง ๆ.
  • ลง     ก. ไปสู่เบื้องต่ำหรือไปสู่เบื้องที่ถือว่าตรงข้ามกับขึ้น เช่น น้ำลง เครื่องบินลง, ไปสู่พื้นดินและพื้นอื่น ๆ เช่น ลงดิน ลงบันได ลงเรือ;
  • เส     ก. เฉ, ไถล, เช่น เสไปพูดเรื่องอื่น, เชือนแช เช่น เสความ.
  • เสีย     ๑ ก. เสื่อมลงไป, ทำให้เลวลงไป, เช่น เสียเกียรติ เสียศักดิ์ศรี เสียชื่อ; สูญไป, หมดไป, สิ้นไป, เช่น เสียแขน เสียชีวิต เสียทรัพย์; ชำรุด เช่น
  • เสียง     น. สิ่งที่รับรู้ได้ด้วยหู เช่น เสียงฟ้าร้อง เสียงเพลง เสียงพูด; ความเห็น เช่น เรื่องนี้ฉันไม่ออกเสียง, ความนิยม เช่น คนนี้เสียงดี
  • สี     ๑ น. ชื่อเครื่องสำหรับหมุนบดข้าวเปลือกเพื่อทำให้เปลือกแตกเป็นข้าวกล้อง. ก. ถู เช่น ช้างเอาตัวสีกับต้นไม้ ลมพัดแรงทำให้ลำไม้ไผ่สีกัน, ครู่,
  • ยง     ๑ ว. อร่ามเรือง, มักใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส เช่น โฉมยง ยุพยง. ๒ ว. ยั่งยืน, มั่นคง, คงทน, ยืนนาน, เช่น อยู่ยงคงกระพัน ยืนยง. ๓ ว. กล้าหาญ