การทับถม คือ
สัทอักษรสากล: [kān thap thom] การออกเสียง:
"การทับถม" การใช้"การทับถม" อังกฤษ"การทับถม" จีน
ความหมายมือถือ
- 1) n.
โดยปริยายหมายความว่า การกล่าวซ้ำเติมให้เขาเสียหายหนักขึ้น
,
, ชื่อพ้อง: การพูดซ้ำเติม คำตรงข้าม: การสรรเสริญ, การยกย่อง, การยกย่องสรรเสริญ
ตัวอย่างการใช้: การทับถมคนอื่นด้วยคำพูดเป็นการกระทำที่ไม่ดี
2) n.
การเพิ่มซับซ้อนกันเข้ามามากมาย
,
ชื่อพ้อง: การซ้อนกัน
ตัวอย่างการใช้: การทับถมของตะกอน โคลนตมที่กระแสน้ำพัดมาทำให้เกิดปุ๋ยตามธรรมชาติ
- กา ๑ น. ชื่อนกชนิด Corvus macrorhynchos ในวงศ์ Corvidae ตัวดำ ร้องกา ๆ, อีกา ก็เรียก; ชื่อดาวฤกษ์ธนิษฐา เช่น แม้นดาวกามาใกล้ในมนุษย์. ( อภัย ).
- การ ๑ น. งาน, สิ่งหรือเรื่องที่ทำ, มักใช้เข้าคู่กับคำ งาน เช่น การงาน เป็นการเป็นงาน ได้การได้งาน, ถ้าอยู่หน้านาม หมายความว่า เรื่อง, ธุระ, หน้าที่,
- การทับ การกลบ การถม การพอก การซ้อน การซ้อนทับ
- รท รด, ระทะนะ น. ฟัน, งา, เช่น ทวิรท = สัตว์ ๒ งา คือ ช้าง. ( ป. , ส. ).
- ทับ ๑ น. กระท่อมหรือสิ่งปลูกสร้างที่ทำอยู่ชั่วคราว. ๒ ก. วางข้างบน, ซ้อนข้างบน, อาการที่ของหนัก ๆ โค่นหรือล้มลงพาดบนสิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยแรง เช่น
- ทับถม ก. เพิ่มซับซ้อนกันเข้ามามากมาย; โดยปริยายหมายความว่ากล่าวซ้ำเติมให้เขาเสียหายหนักขึ้น.
- บถ ( แบบ ) น. ทาง เช่น กรรมบถ. ( ป. ปถ).
- ถม ๑ น. เรียกภาชนะหรือเครื่องประดับที่ทำโดยใช้ผงยาถมผสมน้ำประสานทองถมลงบนลวดลายที่แกะสลักบนภาชนะหรือเครื่องประดับนั้น แล้วขัดผิวให้เป็นเงางาม ว่า
- การทับถมของตะกอน การตกตะกอน การจัดลําดับชั้นตะกอนทางธรณีวิทยา การตกตะกอนทางธรณีวิทยา การทับถมของอนุภาคตะกอน
- การทับถมตามธรรมชาติ การทับถม
- การทับถมเป็นตะกอน การตกตะกอน
- การทับถมของตะกอนเป็นชั้นหิน การตกตะกอน
- การทับถมของอนุภาคตะกอน การตกตะกอน การจัดลําดับชั้นตะกอนทางธรณีวิทยา การตกตะกอนทางธรณีวิทยา การทับถมของตะกอน
- หินที่เกิดจากการทับถมของทรายที่พัดมากับลม แร่หิน
- การทําหน้าถมึงทึง การทําหน้านิ่วคิ้วขมวด การทําหน้าบึ้ง
ประโยค
- อย่าคิดว่าเป็นการทับถมกันเลยนะ ถ้ามันจะทำให้เธอรู้สึกดีขึ้น
- กำหนดการทับถมของสัปดาห์ต่อไป
- การสึกหรอและการกัดกร่อนของผนังด้านในของหลอดวัดหรือการทับถมของตะกรันอาจส่งผลต่อความแม่นยำในการวัด
- การทับถมไดรฟ์ในชั้นวางให้ประสิทธิภาพพื้นที่และการจัดเก็บซ้อนทับกันเป็นจำนวนมากทำให้สามารถเข้าถึงพาเลทได้อย่างง่ายดาย
- แหล่งระเหยความร้อนคือการได้รับสีเงินและสีทองที่ไม่โปร่งใสจากการทับถมของทองแดงและอลูมิเนียมเพื่อให้ได้ผิวที่มีการสะท้อนสูง
- ก๊าซพลาสม่าที่ใช้สำหรับการทับถมปฏิกิริยาเป็นส่วนผสมของอาร์กอนไนโตรเจนและอีเทนนิน ส่วนประกอบของสารเคลือบต่างกันโดยการเปลี่ยนแปลงส่วนผสมของแก๊ส
- ตั้งอยู่บนเกาะหลีเป๊ะบริเวณชายหาดพัทยา ซึ่งเป็นชายหาดที่มีส่วนโค้งยาวที่สุด เม็ดทรายของชายหาดนี้เกิดจากการทับถมของปะการัง จึงมีความละเอียดและสีขาวราวกับแป้งมัน