การปลอมแปลงลายมือหรือเอกสาร คือ
"การปลอมแปลงลายมือหรือเอกสาร" อังกฤษ"การปลอมแปลงลายมือหรือเอกสาร" จีน
- การปลอม
นักตุ๋น vt.
สิ่งที่ปลอมแปลง
โทษฐานปลอมแปลง
- กา ๑ น. ชื่อนกชนิด Corvus macrorhynchos ในวงศ์ Corvidae ตัวดำ ร้องกา ๆ, อีกา ก็เรียก; ชื่อดาวฤกษ์ธนิษฐา เช่น แม้นดาวกามาใกล้ในมนุษย์. ( อภัย ).
- การ ๑ น. งาน, สิ่งหรือเรื่องที่ทำ, มักใช้เข้าคู่กับคำ งาน เช่น การงาน เป็นการเป็นงาน ได้การได้งาน, ถ้าอยู่หน้านาม หมายความว่า เรื่อง, ธุระ, หน้าที่,
- การปลอม การปลอมแปลงลายมือหรือเอกสาร นักตุ๋น vt. สิ่งที่ปลอมแปลง โทษฐานปลอมแปลง
- การปลอมแปลง การหลอกลวง มารยา การตบตา การแสร้ง การปลอมตัว การแอบซ่อน การทำเทียม
- ปลอม ปฺลอม ก. ทำให้เหมือนคนอื่นหรือสิ่งอื่น เพื่อให้หลงผิดว่าเป็นคนนั้นหรือสิ่งนั้น เช่น ปลอมตัว. ว. ไม่แท้หรือไม่จริงตามสภาพของสิ่งนั้น เช่น
- ปลอมแปลง -แปฺลง ก. ทำเลียนแบบให้ดูเหมือนของจริง.
- ลอม ก. รวมตะล่อมกันขึ้นไปให้เป็นจอม; อาการที่โค้งเข้าหากันเป็นวง เช่น ควายเขาลอม, รอม ก็ว่า. น. เรียกกองฟางกองข้าวเป็นต้นซึ่งมีลักษณะเช่นนั้นว่า
- อม ก. เอาสิ่งของใส่ปากแล้วหุบปากไว้ไม่กลืนลงไป, โดยปริยายหมายความว่า ไม่แสดงออกมา เช่น อมภูมิ; กลมกลืน, ปนกัน, เช่น อมเปรี้ยวอมหวาน เขียวอมเหลือง; (
- แป น. ส่วนหนึ่งของโครงสร้างหลังคา วางอยู่บนโครงสร้างอื่น ๆ ได้แก่ จันทัน ปลายเต้า เสาตุ๊กตา ปลายขื่อ และปลายขื่อประธาน
- แปล แปฺล ก. ถ่ายความหมายจากภาษาหนึ่งมาเป็นอีกภาษาหนึ่ง, ทำให้เข้าใจความหมาย.
- แปลง ๑ แปฺลง น. ที่โล่งแห่งหนึ่ง ๆ เช่น คล้องช้างกลางแปลง, พื้นที่ที่กำหนดไว้แห่งหนึ่ง ๆ เช่น นาแปลงหนึ่ง,
- ปลง ปฺลง ก. เอาลง เช่น ปลงหม้อข้าว, ปล่อยหรือเปลื้องให้พ้นไป (ในลักษณะที่รู้สึกว่าหนักอยู่) เช่น ปลงหาบ; เมื่อใช้ประกอบกับคำอื่น มีความหมายต่าง ๆ.
- ลง ก. ไปสู่เบื้องต่ำหรือไปสู่เบื้องที่ถือว่าตรงข้ามกับขึ้น เช่น น้ำลง เครื่องบินลง, ไปสู่พื้นดินและพื้นอื่น ๆ เช่น ลงดิน ลงบันได ลงเรือ;
- ลา ๑ น. ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิด Equus asinus ในวงศ์ Equidae ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับม้า รูปร่างคล้ายม้าแต่ตัวเล็กกว่า หูยาว ปลายหางเป็นพู่
- ลาย ๑ น. รูปแบบทางทัศนศิลป์ประเภทหนึ่ง ประกอบขึ้นด้วยเส้นเป็นสำคัญ ลักษณะเป็นแบบซ้ำ ๆ เป็นหมู่ ๆ หรือต่อเนื่องกันไปก็มี
- ลายมือ น. รอยเส้นที่ฝ่ามือและนิ้ว เช่น หมอดูลายมือ, เส้นลายมือ ก็ว่า, ราชาศัพท์ใช้ว่า เส้นลายพระหัตถ์; ตัวหนังสือเขียน
- ยม ๑ ก. ร้องไห้. ( ข. ). ๒ ยม, ยมมะ- น. เทพเจ้าผู้เป็นใหญ่ประจำโลกของคนตาย; ชื่อดาวเคราะห์ดวงที่ ๙ ในระบบสุริยะ มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า
- มือ ๑ น. อวัยวะส่วนหนึ่งของร่างกายอยู่ต่อจากปลายแขนประกอบด้วยฝ่ามือและนิ้วมือ สำหรับจับเป็นต้น,
- อห อะหะ น. วัน, วันหนึ่ง, มักใช้เป็นส่วนท้ายของสมาสในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต เช่น สัปดาห์ มาจาก ส. สปฺต + อห = ๗ วัน.
- หรือ สัน. คำบอกความให้เลือกเอาอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น จะเอาเงินหรือทอง; คำประกอบกับประโยคคำถาม เช่น ไปหรือ.
- เอ ๑ ว. หนึ่ง; เปลี่ยว, เดี่ยว, เช่น เอองค์. ( ตัดมาจาก เอก). ๒ อ. คำที่เปล่งออกมาแสดงความแปลกใจ สงสัย เป็นต้น.
- เอก เอกะ-, เอกกะ- ว. หนึ่ง (จำนวน); ชั้นที่ ๑ (ใช้เกี่ยวกับลำดับชั้น หรือขั้นของยศ ตำแหน่ง คุณภาพ หรือวิทยฐานะ สูงกว่า โท) เช่น ร้อยเอก
- เอกส ( โบ ) เอก-สอ ว. เอกอย่างสามัญ. ( ตัดมาจาก เอกสามัญ).
- เอกสาร เอกกะ- น. หนังสือที่เป็นหลักฐาน; ( กฎ ) กระดาษหรือวัตถุอื่นใด ซึ่งได้ทำให้ปรากฏความหมายด้วยตัวอักษร ตัวเลข ผัง หรือแผนแบบอย่างอื่น
- อก ๑ น. ส่วนของร่างกายด้านหน้าอยู่ระหว่างคอกับท้อง; ใจ เช่น อกกรม อกเขาอกเรา; เรียกไม้ที่เป็นแกนกลางของตัวว่าวว่า อกว่าว;
- สา ๑ น. หมา. ( ป. ; ส. ศฺวนฺ). ๒ ( ถิ่น-พายัพ ) น. ต้นกระสา. ( ดู กระสา ๓ ), ชื่อกระดาษที่ทำจากเปลือกต้นกระสา ใช้ทำร่มเป็นต้น เรียกว่า
- สาร สาระ- คำประกอบหน้าคำ แปลว่า ทั้งหมด, ทั้งสิ้น, ทุก, เช่น สารทิศ ว่า ทุกทิศ, สารทุกข์ ว่า ทุกข์ทั้งหมด, สารเลว ว่า เลวทั้งสิ้น. ( เลือนมาจาก สรฺว