กุศลกรรม คือ
สัทอักษรสากล: [ku son la kam] การออกเสียง:
"กุศลกรรม" อังกฤษ"กุศลกรรม" จีน
ความหมายมือถือ
- n.
การกระทำความดี ชื่อพ้อง: กุศลผลบุญ
ตัวอย่างการใช้: ข้าพเจ้าตั้งใจจะประกอบแต่กุศลกรรมในชั่วชีวิตนี้
- กุ ๑ ก. สร้างให้เป็นเรื่องเป็นข่าวขึ้นโดยไม่มีมูล. ๒ น. ชื่อกล้วยพันธุ์หนึ่ง, กล้วยสั้น ก็เรียก. ๓ ( โบ ) ก. กรุ เช่น กุกดดดาน คือ
- กุศล -สน น. สิ่งที่ดีที่ชอบ, บุญ. ว. ฉลาด. ( ส. ; ป. กุสล).
- ลก ว. หก; ( โบ ) เรียกลูกชายคนที่ ๖ ว่า ลก, คู่กับ ลูกหญิงคนที่ ๖ ว่า อก.
- กร ๑ กอน น. ผู้ทำ, ใช้ประกอบเป็นส่วนหลังของสมาส เช่น กรรมกร เกษตรกร. ( ป. ). ๒ กอน น. มือ (มักใช้ในบทประพันธ์); แขน เช่น
- กรร ๑ กัน ( โบ ) ก. จับ เช่น กรกรรนฤบดี. ( สมุทรโฆษ ). ( ข. กาน่ ว่า ถือ). ๒ กัน ( เลิก ) ก. กัน เช่น เรือกรร. ๓ กัน-
- กรรม ๑ กำ, กำมะ- น. (๑) การ, การกระทำ, การงาน, กิจ, เช่น พลีกรรม ต่างกรรมต่างวาระ, เป็นการดีก็ได้ ชั่วก็ได้ เช่น กุศลกรรม อกุศลกรรม. (๒)
- รม ก. อบด้วยควันหรือไอไฟ เช่น ใช้ควันรมปลากะพงให้หอม ใช้ควันอ้อยรมเป็ดให้หอม รมผึ้งให้หนีหรือให้เมา, ทำให้ควันไฟหรือไอไฟเป็นต้นเกาะติดอยู่ เช่น
- กุศลกรรมบถ กุสนละกำมะบด น. ธรรมหมวดหนึ่ง มี ๑๐ อย่าง คือ กายสุจริต ๓ วจีสุจริต ๔ มโนสุจริต ๓. (ส.).
- อกุศลกรรม อะกุสนละกำ น. ความชั่วร้าย, โทษ, บาป. (ส. อกุศล + กรฺมนฺ; ป. อกุสลกมฺม).
- อกุศลกรรมบถ อะกุสนละกำมะบด น. ทางแห่งความชั่ว, ทางบาป, มี ๑๐ อย่าง คือ กายทุจริต ๓ วจีทุจริต ๔ และมโนทุจริต ๓. (ส. อกุศล + กรฺมนฺ + ปถ; ป. อกุสลกมฺมปถ).
- ผลกรรม n. การกระทำที่ส่งผลร้ายมายังปัจจุบัน หรือจะส่งผลร้ายต่อไปในอนาคต ชื่อพ้อง: บาปกรรม, เวรกรรม, กรรม คำตรงข้าม: ผลบุญ ตัวอย่างการใช้: ผลกรรมที่เขาได้รับคือต้องสูญเสียตาทั้งสองข้าง
- กุกรรม (แบบ) น. การชั่ว, การไม่ดี. (ส.; ป. กุกมฺม).
- ชาลกรรม น. การจับปลา. (ส.).
- กิจกรรม น. การที่ผู้เรียนปฏิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อการเรียนรู้; กิจการ.
- ก่อกรรม ก่อกรรมทําเข็ญ ทํากรรม สร้างกรรม