เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

คลองเลื่อย คือ

สัทอักษรสากล: [khløng leūay]  การออกเสียง:
"คลองเลื่อย" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
  • น. ร่องไม้ที่เลื่อยเลื่อยเข้าไป, แนวฟันของเลื่อย.
  • คล     คน ( แบบ ) น. คอ เช่น เหลือกตาเมียงเอียงคล. ( ม. คำหลวง กุมาร). ( ป. , ส. ).
  • คลอ     คฺลอ ก. เคียงคู่กันไปอย่างคู่รักหรืออย่างสนิทสนม; ปริ่ม, ใกล้จะไหล, ในคำว่า น้ำตาคลอ หรือ น้ำตาคลอหน่วย; ทำเสียงดนตรีหรือร้องเพลงเบา ๆ
  • คลอง     คฺลอง น. ทางน้ำหรือลำน้ำที่เกิดขึ้นเองหรือขุดเชื่อมกับแม่น้ำหรือทะเล; ทาง, แนว, เช่น คลองธรรม.
  • ลอง     ๑ น. ของที่ทำรองรับไว้ชั้นใน เช่น ลองพระสุพรรณราช; ส่วนที่ประกอบชั้นนอกของพระโกศหรือโกศ เรียกว่า พระลอง หรือ ลอง. ๒ ก.
  • อง     น. คำนำหน้านามของบุคคลซึ่งเป็นเชื้อพระวงศ์ของกษัตริย์ญวน เช่น องเชียงสือ องเชียงชุน,
  • เลื่อย     น. เครื่องมือสำหรับตัด มีหลายชนิด ใบเลื่อยทำด้วยเหล็กกล้า ด้านที่ใช้เลื่อยมีคมเป็นฟันจัก ๆ. ก. ตัดด้วยเลื่อย.
  • ลื่อ     น. ลูกของเหลน.
  • อย     อะยะ-, อะยัด น. เหล็ก. ( ป. อย; ส. อยสฺ).
  • คัดคลองเลื่อย    ก. ดัดฟันเลื่อยให้เบนออกจากแนว โดยดัดฟันหนึ่งเว้นฟันหนึ่งจนตลอดทั้งตัวเลื่อยแล้วจึงดัดฟันที่เว้นไว้ให้เบนออกทางด้านตรงข้ามกับฟันที่ได้ดัดไว้แล้ว.
  • คลองเล็ก    ลําธาร
  • ถอยหลังเข้าคลอง    (สำ) ก. หวนกลับไปหาแบบเดิม. น. ชื่อกลอักษร; ชื่อเพลงไทยทำนองหนึ่ง. (ดึกดำบรรพ์; บทแผ่นเสียง).
  • การถอยหลังเข้าคลอง    การถอยหลัง การเสื่อมทราม
  • กลองเล็ก    กลองบองโก
  • ซึ่งเป็นร่องคล้ายฟันเลื่อย    ซึ่งมีขอบคล้ายฟันเลื่อย
  • อย่างเลอเลิศ    อย่างหรูหรา อย่างสมบูรณ์แบบ อย่างไร้ที่ติ