คางโทน คือ
- น. ชื่อต้นไม้ใช้ทำยา. (พจน. ๒๔๙๓).
- คา ๑ น. เครื่องจำคอนักโทษ ทำด้วยไม้. ๒ ก. ค้างอยู่, ติดอยู่, เช่น ข้าวคาปาก คาถ้วยคาชาม. ว. ยังไม่พ้นไปจากที่นั้น ๆ เช่น ยืนคาประตู สุกคาต้น
- คาง ๑ น. ส่วนของร่างกายที่สุดขากรรไตร อยู่ใต้ปาก, ราชาศัพท์ว่า พระหนุ. ๒ น. ชื่อไม้ต้นชนิด Albizia lebbeckoides Benth. ในวงศ์ Leguminosae
- โท ว. สอง, ชั้นที่ ๒ (ใช้เกี่ยวกับลำดับชั้นหรือขั้นของยศ ตำแหน่ง คุณภาพ หรือ วิทยฐานะ ต่ำกว่าเอก สูงกว่าตรี) เช่น ร้อยโท ข้าราชการชั้นโท ปริญญาโท;
- โทน ๑ น. ชื่อกลองประเภทหนึ่งสำหรับตีขัดจังหวะ ขึงหนังด้านเดียวคล้ายกลองยาว แต่เล็กและสั้นกว่า มี ๒ ชนิด คือ โทนชาตรี และ โทนมโหรี;
- ทน ก. อดกลั้นได้, ทานอยู่ได้, เช่น ทนด่า ทนทุกข์ ทนหนาว, ไม่แตกหักหรือบุบสลายง่าย เช่น ของดีใช้ทน ไม้สักทนกว่าไม้ยาง. ว. แข็งแรง, มั่นคง, เช่น
- ลีดดิ้งโทน ลีดดิ้งโน้ต โน้ตตัวที่เจ็ด
- ทางโท น. ทางที่รถต้องยอมให้รถทางเอกผ่านไปได้ก่อน.
- กระทิงโทน น. กระทิงที่ชอบแยกออกจากฝูงโดยสมัครใจหรือถูกตัวผู้อื่นไล่ออกจากฝูงให้อยู่โดดเดี่ยว.
- ล้างโทษ ชดใช้โทษ ไถ่โทษ
- วางโทษ v. กำหนดโทษไว้สำหรับลงโทษแก่ผู้กระทำความผิด ชื่อพ้อง: กำหนดโทษ ตัวอย่างการใช้: ศาลพิพากษาวางโทษถึงขั้นประหารชีวิตผู้ค้ายาเสพติด
- เสียงโอเวอร์โทน โอเวอร์โทน
- วางโทรศัพท์ v. วางหูโทรศัพท์ลงกับเครื่องเพื่อเลิกการติดต่อ ชื่อพ้อง: วางหูโทรศัพท์ คำตรงข้าม: ยกหูโทรศัพท์ ตัวอย่างการใช้: ลูกค้าวางโทรศัพท์ไปก่อนที่เธอจะเดินมารับเมื่อครู่นี้เอง
- เครื่องโทคาแมค โทคาแมค
- โทนโท่ ว. ปรากฏชัดแก่ตา, จะแจ้ง, เช่น เห็นอยู่โทนโท่, ทนโท่ ก็ว่า.
- นางทางโทรศัพท์ โสเภณี ผู้หญิงขายตัว หญิงขายบริการที่ใช้โทรเรียกทางโทรศัพท์