คายก- คือ
-ยก, คายะกะ-
(แบบ) น. ผู้ร้องเพลง, ผู้ขับร้อง. (ป., ส.).
- คา ๑ น. เครื่องจำคอนักโทษ ทำด้วยไม้. ๒ ก. ค้างอยู่, ติดอยู่, เช่น ข้าวคาปาก คาถ้วยคาชาม. ว. ยังไม่พ้นไปจากที่นั้น ๆ เช่น ยืนคาประตู สุกคาต้น
- คาย ๑ ก. ปล่อยของที่ไม่ต้องการจะกลืนหรือกลืนไม่ได้ออกจากปาก เช่น คายชานอ้อย; ปล่อยออกมา เช่น คายความร้อน;
- คายก -ยก, คายะกะ- ( แบบ ) น. ผู้ร้องเพลง, ผู้ขับร้อง. ( ป. , ส. ).
- ยก ๑ ก. เอาขึ้นให้สูงจากที่เดิมทั้งโดยตรงและโดยปริยาย; เคลื่อนไป, พากันไป, เช่น ยกทัพ ยกพวก; งดเว้น, เพิกถอน, เช่น ยกโทษ ยกภาษี ยกคำสั่ง; มอบ เช่น
- คายกคณะ คายะกะ- น. หมู่คนผู้ขับร้อง, พวกขับร้อง, ลูกคู่. (ป., ส.).
- หยาบคายกับ ดูถูก
- ทําหยาบคายกับคนอื่น ทําระยํากับคนอื่น
- นโยบายการกําหนดราคา นโยบายราคา
- ใช้ภาษาหยาบคายกับ พูดด้วยคําหยาบคาย
- เรียกราคา เรียกเงิน
- คมคาย ว. ฉลาด, ไหวพริบดี, ทันคน, เช่น วาจาคมคาย พูดจาคมคาย สำนวนภาษาคมคาย, มีแววฉลาด เช่น หน้าตาคมคาย.
- คายตัว v. รู้สึกระคายคัน have/feel an itch, ชื่อพ้อง: ระคายตัว ตัวอย่างการใช้: เด็กๆ เข้าไปวิ่งเล่นในทุ่งหญ้า ตกเย็นคายตัวกันทุกคนจนต้องพาไปหาหมอ
- คายน้ำ ปล่อยไอน้ำ
- คายัน (แบบ) ก. ร้องเพลง, ขับร้อง, เช่น สยงสังคีตคายัน. (ม. คำหลวง มหาราช). (ป., ส.).
- ชายคา น. ส่วนที่สุดของหลังคาที่ยื่นพ้นตัวเรือนออกมา.