เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

ง้ำ คือ

สัทอักษรสากล: [ngam]  การออกเสียง:
"ง้ำ" การใช้"ง้ำ" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
  • ว. ยื่นออกไปเกินปรกติจนปลายโน้มลง, โน้มไปทางหน้า เช่น สวมชฎาง้ำหน้า, เรียกหน้าที่มีสีหน้าแสดงอาการโกรธไม่พอใจหรือไม่ได้อย่างใจเป็นต้นว่า หน้าง้ำ.
  • ง่ำ    ว. เสียงขู่ของหมาที่กำลังกินข้าว. ก. งับเบา ๆ เช่น หมาง่ำน่อง.
  • ง่ามค้ำ    สิ่งค้ำจุนการสนับสนุน
  • ง่ำ ๆ    ว. เสียงขู่ของหมาที่กำลังกินข้าว. ก. งับเบา ๆ เช่น หมาง่ำน่อง.
  • กร่ำ    ๑ กฺร่ำ น. ที่ล่อปลาให้เข้าไปอยู่ ใช้ไม้ปักตามชายฝั่งลำแม่น้ำ เป็นรูปกลมบ้าง รีบ้าง ภายในสุมด้วยกิ่งไม้เพื่อล่อให้ปลาเข้าอาศัย เมื่อเวลาจะจับก็เอาเฝือกหรืออวนล้อม แล้วเอาไม้ที่สุมนั้นออก, เขียนเป็น
  • กล่ำ    ๑ กฺล่ำ น. ชื่อมาตราเงินโบราณ ๒ กล่อม เท่ากับ ๑ กล่ำ คือ อัฐ, ๒ กล่ำ เป็น ๑ ไพ. (กล่ำ ได้แก่ มะกล่ำตาช้าง, กล่อม ได้แก่ มะกล่ำตาหนู). ๒ กฺล่ำ น. เครื่องดักปลาชนิดหนึ่ง. (ดู กร่ำ ๑). ๓ กะหฺล่ำ (โบ; ก
  • กล้ำ    กฺล้ำ ก. ควบ เช่น กล้ำอักษร อักษรกล้ำ, ทำให้เข้ากัน, กลืนกัน, เช่น กล้ำเสียง เสียงกล้ำ, มีโทษอันหนึ่งไซร้ กลบกล้ำพันคุณ. (โลกนิติ), คือดั่งปากเว้นกล้ำ แกล่เหมี้ยงหมากพลู. (โลกนิติ), กัลยาจะกล้ำอำควา
  • ก่ำ    ว. สุกใส, เข้ม, จัด, (มักใช้แก่สีแดงหรือทองที่สุก).
  • ก้ำ    (โบ) น. ด้าน, ฝ่าย, ทิศ.
  • ขม้ำ    ขะม่ำ ก. เอาปากงับกินเร็ว ๆ (ใช้แก่สุนัขเป็นต้น ถ้าใช้แก่คน ถือว่าเป็นคำไม่สุภาพ).
  • ขย้ำ    ขะย่ำ ก. เอาปากงับกัดอย่างแรง, โดยปริยายหมายถึงการทำร้ายด้วยวาจาหรือการกระทำอย่างรุนแรง.
  • คร่ำ    ๑ คฺร่ำ ว. เรียกของเหลวในถุงเยื่อหุ้มลูกในมดลูกของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ทำหน้าที่ลดผลการกระทบกระแทก และช่วยหล่อลื่นในตอนคลอดเป็นต้น ว่า น้ำคร่ำ เรียกถุงเยื่อหุ้มที่บรรจุน้ำคร่ำว่า ถุงน้ำคร่ำ. ๒ คฺร่ำ
  • คล่ำ    คฺล่ำ น. หมู่. ว. สับสน, เกลื่อนกล่น, มาก, มักใช้คู่กับคำ คลา เป็น คลาคล่ำ.
  • คล้ำ    คฺล้ำ ว. ค่อนข้างดำ, ไม่ผ่องใส, หม่นหมอง, เช่น ผิวคล้ำ หน้าคล้ำ.
  • คว่ำ    คฺว่ำ ก. พลิกเอาด้านบนลงล่าง เช่น รถคว่ำ เรือคว่ำ; กิริยาที่เอาด้านหน้าลง เช่น นอนคว่ำ, กิริยาที่เอาด้านบนลงล่าง เช่น คว่ำชาม, ตรงข้ามกับ หงาย; เรียกใบหน้าที่แสดงอาการไม่พอใจหรือโกรธจนไม่เงยหน้าขึ้น
  • ค่ำ    น. เรียกวันตามจันทรคติ เช่น ขึ้นค่ำหนึ่ง ขึ้น ๒ ค่ำ, เวลามืดตอนต้นของกลางคืน. ว. ที่อยู่ในช่วงเวลาตั้งแต่เย็นจนถึงเวลามืดตอนต้นของกลางคืน เช่น รอบค่ำ. ก. สิ้นแสงเมื่อดวงอาทิตย์ตกดินแล้ว เช่น จวนจะค่
ประโยค
  • อาการของไต้ง้ำกับลี้เต้งเป็นอย่างไรบ้าง ?
  • ดังนั้นไต้ง้ำ เจ้าต้องแบกภาระเรียนรุ้และสืบทอดสุดยอดวิชาของข้า
  • ไต้ง้ำ เจ้าคิดว่าข้าควรทำอย่างไรดี
  • ร้อยเชื้อชาติ ที่ผงาดง้ำเหนือเรา
  • ไต้ง้ำ ฟังนะ ความเป็นตาย ผลแพ้ชนะ
  • ไต้ง้ำ เจ้าเข้าใจได้ถึงขั้นไหน ?
  • ไต้ง้ำ ข้าเพิ่งเตือนอะไรเจ้าไป
  • ต้องเก็บง้ำความลับเอาไว้
  • ศิษย์คนที่สาม ยู้ไต้ง้ำ
  • หากท่อนลำจะง้ำผงาด