จตุปาริสุทธิศีล คือ
"จตุปาริสุทธิศีล" อังกฤษ
- จะตุปาริสุดทิสีน
น. ศีลคือความบริสุทธิ์ หรือ ศีลคือเครื่องให้บริสุทธิ์ ๔ ประการ คือ
๑. สำรวมในพระปาติโมกข์ (ปาติโมกฺขสํวร)
๒. สำรวมตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ (อินฺทฺริยสํวร)
๓. เลี้ยงชีพโดยทางชอบ (อาชีวปาริสุทฺธิ)
๔. บริโภคปัจจัยด้วยการพิจารณา (ปจฺจยสนฺนิสฺสิต). (ป.).
- จตุ จะตุ- ว. สี่, ใช้ประกอบหน้าคำที่มาจากภาษาบาลี. ( ป. ).
- ตุ ว. ลักษณะกลิ่นเหม็นอย่างหนึ่งคล้ายกลิ่นเนื้อหรือปลาที่ตากไม่ได้แดดเป็นต้น, ใช้ประกอบกับคำ เหม็น เป็น เหม็นตุ.
- ปา ก. ซัดไปด้วยอาการยกแขนขึ้นสูงแล้วเอี้ยวตัว; ( ปาก ) คำใช้แทนกิริยาได้หลายอย่างแล้วแต่คำประกอบที่ทำให้รู้ว่าเกินกว่าที่คาดคิด, มักใช้ว่า ปาขึ้นไป
- ปาร ปาระ- น. ฝั่ง, ฝั่งตรงข้าม; ที่สุด; นิพพาน. ( ป. , ส. ).
- ริ ก. เริ่มคิดหรือทำแปลกจากปรกติ (มักใช้ในทางไม่ดี) เช่น ริสูบบุหรี่ ริเที่ยวกลางคืน, ริอ่าน ก็ว่า.
- สุ ๑ ก. ซักสบงจีวรวิธีหนึ่งโดยใช้น้ำร้อนหรือมะกรูดมะนาวเป็นต้น, มักใช้ว่า ซักสุ. ๒ ว. เสีย แต่ยังไม่เน่า (มักใช้แก่แตงโม) เช่น แตงโมใบนี้สุแล้ว
- สุทธ ว. หมดจด, สะอาด; ล้วน, แท้. ( ป. ).
- สุทธิ สุดทิ ว. แท้ ๆ, ล้วน ๆ, เช่น กาแฟขวดนี้น้ำหนักสุทธิ ๑๐๐ กรัม. ( ป. ; ส. ศุทฺธิ).
- ทธิ ทะทิ ( แบบ ) น. นมส้ม คือนมที่ขึ้นฝาแปรสภาพเป็นนมเปรี้ยว อยู่ในจำพวกเบญจโครส. ( ป. , ส. ).
- ศีล สีน น. ข้อบัญญัติทางพระพุทธศาสนาที่กำหนดการปฏิบัติกายและวาจา เช่น ศีล ๕ ศีล ๘, การรักษากายวาจาให้เรียบร้อย, เป็นธรรมข้อ ๑ ในทศพิธราชธรรม; ( ดู
- ศักดิ์สิทธิ์ ว. ที่เชื่อถือว่ามีอำนาจอาจบันดาลให้สำเร็จได้ดังประสงค์, ขลัง, เช่น สิ่งศักดิ์สิทธิ์ วัตถุมงคลศักดิ์สิทธิ์.
- ศักด์สิทธิ์ เลื่อมใสในศาสนา
- ลัทธิศักดินา วิธีการทางศักดินา ศักดินา
- การทําให้ศักดิ์สิทธิ์ การช่วยให้พ้นบาป
- ที่ศักดิ์สิทธิ สถานที่ศักดิ์สิทธิ