จังก้า คือ
สัทอักษรสากล: [jang kā] การออกเสียง:
"จังก้า" การใช้"จังก้า" อังกฤษ"จังก้า" จีน
ความหมายมือถือ
- ว. ลักษณะยืนถ่างขาตั้งท่าเตรียมสู้, ลักษณะที่ตั้งปืนกลเป็นต้นเตรียมพร้อมที่จะยิง.
- จัง ( ปาก ) ว. ยิ่งนัก เช่น เก่งจัง ร้อนจัง ของสิ่งนี้ถูกจัง; เต็มที่, เต็มแรง, เช่น ชนกันเข้าอย่างจัง.
- งก ๑ ก. แสดงอาการอยากได้หรือไม่อยากเสียจนเกินควร. ว. มีอาการสั่นอย่างคนแก่หรืออย่างกลัวหรืออย่างหนาวมาก. ๒ น.
- จิตใจที่แข็งกล้า ความเด็ดเดี่ยว ความแข็งแกร่ง
- จ่า ๑ น. หัวหน้า, หัวโจก, เช่น จ่าฝูง จ่าโขลง; ยศทหารและตำรวจชั้นประทวน เช่น จ่าตรี จ่าสิบตำรวจ, บรรดาศักดิ์ในราชสำนัก เช่น จ่าแผลงฤทธิรอนราญ จ่าเร่งงานรัดรุด, ตำแหน่งหัวหน้าธุรการบางอย่าง เช่น จ่าศาล;
- จ้า ว. จัด, ยิ่ง, แรง, (ใช้แก่สี แสง หรือเสียง) เช่น สีจ้า แสงจ้า.
- จ้ํา รอยช้ํา รอยฟกช้ําดําเขียว กระวีกระวาด กุลีกุจอ ผลุนผลัน รีบเร่ง
- จ๋า ว. คำขานรับ; คำลงท้ายคำร้องเรียก เช่น หนูจ๋า.
- จํา จําไว้ อย่าลืม จดจํา จําได้ ทบทวน ระลึก รําลึก หวนคิด
- จังกวด ๑ น. จะกวด. (พจน. ๒๔๙๓). (ข. ตฺรกวต). ๒ (กลอน) ว. บ้า เช่น เฒ่าจังกวดกามกวน. (ม. คำหลวง ชูชก). (ข. ฉฺกวต).
- จังกอบ (โบ) น. ภาษีผ่านด่าน, ภาษีปากเรือ, ภาษีที่เก็บเพื่อใช้บำรุงท้องถิ่น. ก. ผูก, มัด, เชิงกอบ ก็เรียก.
- จังกา น. ไม้ขาหยั่ง.
- จังกูด น. เครื่องถือท้ายเรือ คล้ายหางเสือ ทำด้วยไม้เป็นแผ่นใหญ่ รูปร่างคล้ายพาย มีด้ามยาว, จะกูด หรือ ตะกูด ก็เรียก. (ข. จงฺกูต).
- จังหน้า ว. เต็มหน้า, เต็มที่, เช่น เจอเข้าจังหน้า โดนเข้าจังหน้า.
- จัดจ้า ว. สว่างมาก, มีแสงกล้า.
- จัดท่า v. กำหนดลักษณะท่าทางของร่างกายให้อยู่ในอิริยาบถต่างๆ ชื่อพ้อง: จัดท่าทาง, จัดท่าจัดทาง ตัวอย่างการใช้: ช่างกล้องจัดท่าให้นางแบบมือใหม่เสียนานก่อนจะเริ่มถ่ายได้