จี๋จ้อ คือ
สัทอักษรสากล: [jī jø] การออกเสียง:
"จี๋จ้อ" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
- ดู จิงจ้อ.
- จี ว. ตูม เช่น สงวนมิ่งมาลยจาวจี แกล่กล้ำ. ( ทวาทศมาส ), พายัพว่า จี๋.
- จี๋ ๑ ว. เร็ว, จัด, เช่น วิ่งจี๋ หมุนจี๋ เร็วจี๋, ยิ่ง เช่น ร้อนจี๋ ปวดจี๋. ๒ ( ถิ่น-พายัพ ) ว. ตูม.
- จ้อ ว. อาการที่พูดหรือคุยเรื่อยไปไม่หยุดปาก เช่น พูดจ้อ.
- จ่อ ๑ ก. เอาสิ่งใดสิ่งหนึ่งเข้าไปใกล้หรือเกือบจดสิ่งอื่น เช่น เอายาดมจ่อจมูก; มุ่งอยู่เฉพาะกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง มักใช้เข้าคู่กับคำ จด เป็น จดจ่อ เช่น เขามีใจจดจ่อกับงาน. ๒ (ถิ่น-อีสาน) น. ภาชนะสานชนิดหนึ่
- จ๋อ น. คำใช้เรียกลิงหรือเด็กที่ซนอย่างลิงว่า อ้ายจ๋อ.
- อ.จ. อาจารย์
- อีจู้ น. เครื่องดักปลาไหลชนิดหนึ่ง สานด้วยไม้ไผ่ รูปคล้ายหม้อคอสูง มีงาแซงอยู่ริมก้น ห้อยเหยื่อไว้ภายใน, กระจู้ หรือ จู้ ก็เรียก.
- อุจ ว. สูง, ระหง. (ป., ส. อุจฺจ).
- จังหล่อ น. เครื่องกีดกั้นขวางทางในสมัยโบราณ ปักเสาสูงราว ๒ ศอก มีไม้เสาทับหลัง ขวางถนนเป็น ๒ แนวเยื้องไม่ตรงกัน ปลายต่อปลายเกินกันทั้ง ๒ ข้าง, ค่ายผนบบ้านหล่อ จั้นหล่อ หรือ จำหล่อ ก็เรียก. (ลำดับสกุลเก่า; ล
- จัดซื้อ v. ดำเนินการซื้อหรือหามา (ใช้อย่างเป็นทางการ) คำตรงข้าม: ขาย ตัวอย่างการใช้: รัฐบาลอเมริกาจัดซื้อเครื่องบินทิ้งระเบิดแบบสเตลต์ เพื่อนำมาใช้ในกองทัพ
- จับมือ ก. ทักทายตามธรรมเนียมตะวันตกโดยบุคคล ๒ คน ประสานมือขวาของกันและกันแล้วเขย่า, เรียกอาการที่ครูสอนโดยจับมือผู้เริ่มเรียนให้ทำตามในการสอนบางวิชาเช่น ฟ้อนรำ ดนตรี หรืองานฝีมือบางอย่าง เช่น จับมือรำ จับม
- จั้นหล่อ น. เครื่องกีดกั้นขวางทางในสมัยโบราณ ปักเสาสูงราว ๒ ศอก มีไม้เสาทับหลัง ขวางถนนเป็น ๒ แนวเยื้องไม่ตรงกัน ปลายต่อปลายเกินกันทั้ง ๒ ข้าง, ค่ายผนบบ้านหล่อ จังหล่อ หรือ จำหล่อ ก็เรียก.
- จั๊กเล้อ (ถิ่น-พายัพ) น. จิ้งเหลน. (ดู จิ้งเหลน).
- จิงจ้อ น. ชื่อไม้เถาหลายชนิดหลายสกุลในวงศ์ Convolvulaceae เช่น จิงจ้อขาว จิงจ้อเหลี่ยม หรือ จี๋จ้อ [Operculina turpethum (L.) S. Manso] ลำต้นเป็นเหลี่ยมหรือมีครีบ ดอกสีขาว จิงจ้อใหญ่ จิงจ้อเหลือง หรือ จิงจ
- จี อี มัวร์ มัวร์ จอร์จ เอ็ดเวิร์ด มัวร์