จุกผาม คือ
จุกกะผาม
น. ชื่อโรคชนิดหนึ่ง มีตับและม้ามโต มีไข้คลุมเครือเรื้อรัง คือ ไข้จับสั่นเรื้อรัง, ป้าง ก็เรียก.
- จุ ๑ ก. มีขนาด ปริมาณ หรือจำนวนบรรจุ เช่น ขวดใบนี้จุน้ำได้ ๑ ลิตร ลิฟต์นี้จุคนได้ ๑๐ คน. ว. มาก เช่น กินจุ. ๒ ว.
- จุก ๑ น. ผมเด็ก ๆ ที่ขมวดเอาไว้ตรงขม่อม, ผมจุก หรือ หัวจุก ก็เรียก, ราชาศัพท์ว่า พระเมาลี หรือ พระโมลี; กลุ่ม, ขมวด, หมวด, (ใช้แก่หัวหอมหัวกระเทียม
- ผา น. หินที่เขา เช่น หน้าผา เนินผา ผาลาด, ภูเขา เช่น เชิงผา, เรียกภูเขาด้านที่มีแผ่นหินตั้งชันว่า หน้าผา.
- ผาม ๑ น. ม้าม. ๒ ( ถิ่น-อีสาน ) น. ปะรำ.
- จุกผามม้ามย้อย น. ชื่อโรคเกิดที่ม้ามทำให้ม้ามย้อยลงมา.
- มวกผา น. ของอย่างหนึ่งเป็นยางคล้ายวุ้นอยู่ตามเขา.
- โตรกผา โกรก โกรกไกร โตรก โตรกไตร
- ชะโงกผา น. หินซึ่งยื่นออกไปจากหน้าผา.
- หมากผาง ดู มงโกรย (๒).
- จันทน์ผา ดู จันทน์แดง.
- จักรผาน จักผาน ดู ตาเดียว.
- อกผายไหล่ผึ่ง ว. สง่า, องอาจ, ผึ่งผาย.
- จุดผกผัน จุดบอกการเปลี่ยนแปลง ปัจจัยที่บอกการเปลี่ยนแปลง
- จุดพลิกผัน n. จุดที่เปลี่ยนแปลงโดยฉับพลัน, จุดที่สถานการณ์เปลี่ยนแปลงโดยฉับพลัน ตัวอย่างการใช้: กรณีรัฐประหาร 2490 คือจุดพลิกผันเมื่อเขาผู้นี้อยู่ในตำแหน่งผบ. กรมทหารราบที่ 1
- จุดไฟเผา วางเพลิง เผา ทําให้ไหม้