ฉันทลักษณ์ คือ
สัทอักษรสากล: [chan tha lak] การออกเสียง:
"ฉันทลักษณ์" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
ฉันทะลัก
น. ลักษณะแบบแผนคำประพันธ์ประเภทร้อยกรอง, ชื่อตำราไวยากรณ์ตอนที่ว่าด้วยลักษณะของคำประพันธ์.
- ฉัน ๑ ส. คำใช้แทนตัวผู้พูด พูดกับผู้ที่เสมอกันหรือผู้ใหญ่พูดกับผู้น้อย, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑. ๒ ก. กิน (ใช้แก่ภิกษุสามเณร). ๓ ว.
- นท นด ( แบบ ) น. ผู้บันลือ, ผู้ร้อง, ผู้ลั่น; แม่น้ำ, ลำน้ำ, เช่น ชมพูนท (แปลว่า เกิดในแม่น้ำชมพูนที คือ ทองคำบริสุทธิ์). ( ป. , ส. ).
- ทล ทน ( แบบ ) น. ใบไม้, กลีบดอกไม้. ( ป. , ส. ).
- ลัก ก. เอาสิ่งของที่เขาไม่ให้ไปด้วยอาการซ่อนเร้น, ขโมย, เช่น ลักทรัพย์, แอบทำ, ลอบทำ, เช่น ลักกินขนมในห้องเรียน ลักสูบบุหรี่ในห้องน้ำ. ว.
- ลักษณ -สะหฺนะ น. สมบัติเฉพาะตัว เช่น น้ำมีลักษณะเป็นของเหลว ลูกบิลเลียดมีลักษณะกลม ลูกเต๋ามีลักษณะเหลี่ยม คนไทยมีลักษณะอ่อนโยน; ประเภท เช่น ใน ๓
- ลักษณ์ ลัก ( กลอน ) น. จดหมาย, เรียกเต็มว่า อักษรลักษณ์; ( โบ ) ลักษมณ์.
- กษ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
- (ฉันทลักษณ์) มาจาก ตำราสยามไวยากรณ์ ฉันทลักษณ์ ของ กรมศึกษาธิการ
- วิชาฉันทลักษณ์ วิชาเกี่ยวกับจังหวะและเสียงสัมผัสของบทกวี แบบแผนการเปล่งเสียง
- ฉินทฤกษ์ ฉินทะเริก น. ฤกษ์ตัดจุก.
- ตรีฉินทลามกา -ฉินทะลามะกา น. ของแก้ลามกให้ขาดไป ๓ อย่าง คือ โกฐน้ำเต้า สมอไทย รงทอง.
- ฉันท- ๑ ฉันทะ- น. ชื่อคำประพันธ์ประเภทหนึ่งที่วางคำ ครุ ลหุ เป็นแบบต่าง ๆ. (ป.). ๒ น. ความพอใจ, ความรักใคร่, ความชอบใจ, ความยินดี; ความร่วมความคิดความเห็นกัน เช่น ลงมติเป็นเอกฉันท์, ความไว้เนื้อเชื่อใจ เช
- ฉันท์ ๑ ฉันทะ- น. ชื่อคำประพันธ์ประเภทหนึ่งที่วางคำ ครุ ลหุ เป็นแบบต่าง ๆ. (ป.). ๒ น. ความพอใจ, ความรักใคร่, ความชอบใจ, ความยินดี; ความร่วมความคิดความเห็นกัน เช่น ลงมติเป็นเอกฉันท์, ความไว้เนื้อเชื่อใจ เช
- ฉินท ฉินทะ- (แบบ) ก. ตัด, ขาด, ทำลาย. (ป., ส.).
- ฉินท- ฉินทะ- (แบบ) ก. ตัด, ขาด, ทำลาย. (ป., ส.).