ชงคา คือ
สัทอักษรสากล: [chong khā] การออกเสียง:
"ชงคา" การใช้"ชงคา" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
- (กลอน) น. ราชโองการ เช่น ชุลีกรรับชงคาครรไล. (
นิ. เกาะแก้วกัลกตา ).
- ชง ๑ ก. เทน้ำร้อนลงบนใบชาหรือยาเป็นต้นเพื่อให้รสออก. ๒ ( ถิ่น-ปักษ์ใต้ ) ว. งง, ชะงัก, ประหม่า.
- คา ๑ น. เครื่องจำคอนักโทษ ทำด้วยไม้. ๒ ก. ค้างอยู่, ติดอยู่, เช่น ข้าวคาปาก คาถ้วยคาชาม. ว. ยังไม่พ้นไปจากที่นั้น ๆ เช่น ยืนคาประตู สุกคาต้น
- ทวิชงค์ น. พราหมณ์. (ส.).
- ภุชงค์ พุชะคะ, พุชง, พุชงคะมะ น. งู, นาค. (ป., ส.).
- ภุชงคมะ พุชะคะ, พุชง, พุชงคะมะ น. งู, นาค. (ป., ส.).
- ลูกแชงค์ การแชงค์
- การแชงค์ ลูกแชงค์
- ภุชงคประยาต พุชงคะ- น. ชื่อฉันท์แบบหนึ่งมี ๑๒ คำ แบ่งเป็น ๒ วรรค มีลหุต้นวรรคและกลางวรรค. (ส.; ป. ภุชงฺคปฺปยาต).
- ชงฆ ชงคะ- (กลอน; แบบ) น. แข้ง, ราชาศัพท์ว่า พระชงฆ์. (ป. ชงฺฆ; ส. ชงฺฆา).
- ชงฆ- ชงคะ- (กลอน; แบบ) น. แข้ง, ราชาศัพท์ว่า พระชงฆ์. (ป. ชงฺฆ; ส. ชงฺฆา).
- ชงฆ์ ชงคะ- (กลอน; แบบ) น. แข้ง, ราชาศัพท์ว่า พระชงฆ์. (ป. ชงฺฆ; ส. ชงฺฆา).
- ที่ชง เครื่องกรอง
- คงคา ๑ น. น้ำ, แม่น้ำ, ใช้เป็นสามัญว่า แม่พระคงคา หมายถึง เจ้าแม่ประจำน้ำ, ชื่อแม่น้ำสำคัญสายหนึ่งในประเทศอินเดีย. (ป., ส. คงฺคา ว่า ผู้ไปเร็ว, ผู้ไหลเชี่ยว); เรียกส่วนของท่อเหล้าในโรงต้มกลั่นว่า ท่อคงคา
- คางคก ๑ น. ชื่อสัตว์สี่เท้าสะเทินน้ำสะเทินบกในวงศ์ Bufonidae รูปร่างคล้ายกบ ผิวหนังเป็นตุ่มขรุขระ เคลื่อนที่โดยการย่างเดินและกระโดดหย่ง ๆ ในประเทศไทยมีหลายชนิด เช่น คางคกบ้าน (Bufo melanostictus) คางคกป่า
- คิงคาจู คินคาจู