ชะมัง คือ
สัทอักษรสากล: [cha mang] การออกเสียง:
"ชะมัง" การใช้"ชะมัง" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
- ดู ทำมัง.
- ชะ ๑ ก. ทำให้สิ่งที่ติดอยู่หลุดไปหรือหมดไปด้วยน้ำ ในลักษณะและอาการอย่างชะแผล; ชำระล้างด้วยอาการคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ฝนชะลาน ฝนชะช่อมะม่วง. ๒
- มัง end. คำแสดงความไม่แน่ใจ, คำแสดงความคาดคะเน, (ใช้ไว้ท้ายประโยค) ชื่อพ้อง: กระมัง ตัวอย่างการใช้: เขาคงไม่อยากไปมัง
- ชะมด ๑ น. ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์ Viverridae ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับอีเห็นและพังพอน หน้าแหลม รูปร่างเพรียว สีเทาหรือน้ำตาล มีลายจุดสีดำตามยาวทั่วตัว หางและขนหางยาว มีลายเป็นปล้อง มีต่อมกลิ่นใกล้เครื่
- ชะมบ น. ไม้ปักเป็นเครื่องหมายสำหรับขุดหลุมจะปลูกเรือน. (ปรัดเล).
- ชะมวง น. ชื่อไม้ต้นชนิด Garcinia cowa Roxb. ในวงศ์ Guttiferae ใบมีรสเปรี้ยว ใช้เป็นผัก.
- ชะมัด ว. มาก, ยิ่ง, เช่น เก่งชะมัด, ชะมัดยาด ก็ว่า.
- ชะมดต้น น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Abelmoschus moschatus Medic. subsp. moschatus ในวงศ์ Malvaceae ดอกสีเหลือง โคนกลีบสีน้ำตาลเข้ม เมล็ดมีกลิ่นคล้ายกลิ่นชะมดเช็ด ใช้ทำยาได้, ฝ้ายผี ก็เรียก.
- ชะม้ายตา ชายตา ชําเลือง มอง ลอบมอง เล่นตา เล่นหูเล่นตา
- กวางชะมด น. ชื่อสัตว์เคี้ยวเอื้องขนาดเล็กในสกุล Moschus วงศ์ Moschidae ลำตัวป้อม หัวเล็ก ไม่มีเขา ขนหยาบมีสีแตกต่างกัน ตัวเมียเขี้ยวสั้นมาก ตัวผู้มีเขี้ยวยาวคล้ายใบมีดยื่นพ้นริมฝีปาก และมีต่อมกลิ่นอยู่ระหว่า
- จันทน์ชะมด น. (๑) ชื่อไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ชนิด Aglaia silreotris (M. Roem.) Merr. ในวงศ์ Meliaceae ขึ้นตามป่าชื้นบางแห่ง เนื้อไม้หอม. (๒) ชื่อไม้ต้นขนาดกลางชนิด Mansonia gagei J.R. Drumm. ex Prain ในวงศ์
- ชะมดเชียง น. ชื่อเครื่องหอมชนิดหนึ่งซึ่งได้จากกวางชะมดตัวผู้ ใช้แต่งกลิ่นเครื่องหอมและทำยาได้. (ดู กวางชะมด ประกอบ).
- ชะมดเช็ด ชะมดเชียง
- ชะนุง น. ไม้คู่สำหรับขึงเข็ดด้ายให้ตึง แล้วใช้แปรงขนหมีหวีเพื่อแยกเส้นด้าย.
- ชะวัง น. ชื่อหวายชนิดหนึ่งผิวงาม โดยมากใช้ทำไม้ถือ. (พจน. ๒๔๙๓).
- ชะวุ้ง ว. เป็นคุ้ง, คด, อ้อม, เช่น หว่างเวิ้งชะวุ้งศิขร. (กุมารคำฉันท์).