เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

ชี้นํา คือ

การออกเสียง:
"ชี้นํา" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
  • แนะหรือให้ข้อมูลกับ
    ชี้บอก
    นํา
    นําทาง
    ชี้ทาง
    ชี้แนะ
    เสนอแนะ
    แนะนํา
    แนะแนว
    แนะ
    ชี้โพรงให้กระรอก
  • ชี     ๑ น. นักบวช เช่น ชีปะขาว; คำเรียกหญิงที่นุ่งขาวห่มขาว โกนคิ้วโกนผมถือศีล, แม่ชี ก็เรียก. ( ส. ชี ใช้พูดต้นนามเป็นเครื่องหมายแห่งความยกย่อง). ๒
  • ชี้     น. เรียกนิ้วที่ ๒ นับแต่หัวแม่มือว่า นิ้วชี้. ก. เหยียดนิ้วชี้เป็นต้นตรงไปที่ใดที่หนึ่งเพื่อให้เห็นสิ่งที่ต้องการ, เหยียดตรง เช่น หางชี้; แนะนำ,
  • นํา     สั่ง นําพา พา ชักนํา ริเริ่ม เริ่ม เสนอ นําหน้า มีมาก่อน อยู่ข้างหน้า อยู่หน้า ชี้นํา ชี้บอก นําทาง จับ เป็นคนสําคัญ เป็นผู้นํา เป็นหัวหน้า
  • ผู้ชี้นํา    ผู้คุ้มครอง ผู้นําทาง ผู้ปกป้องผู้อื่น คนชี้แนะ ผู้ชี้แนะ ผู้แนะนํา
  • ชักแม่น้ำทั้งห้า    (สำ) ก. พูดจาหว่านล้อมยกยอบุญคุณเพื่อขอสิ่งที่ประสงค์ เช่น เถ้าก็พูดจาหว่านล้อมด้วยคำยอ ชักเอาแม่น้ำทั้งห้าเข้ามาล่อ. (ม. ร่ายยาว กุมาร).
  • ช่องชั้น (หลืบฝ้า    ช่องเหลี่ยม หลืบ หลืบเขา)
  • ช่า ช่า ช่า    การเต้นช่า ช่า ช่า
  • ช้า    ๑ ว. ค่อย ๆ เคลื่อนไป, ไม่เร็ว, ไม่ไว, เช่น เดินช้า วิ่งช้า; ล่า, ไม่ทันเวลาที่กำหนด, เช่น มาช้า. ๒ ว. หยาบ, ชั่ว, เลว, ทราม, เช่น ยายฟังสารยายสั่นหัว ยายเคยลองแต่ตัวชั่วตัวช้า. (ลอ). ๓ น. ชื่อเพลงใ
  • ช้ํา    บอบช้ํา ฟกช้ํา ระบม บวม อักเสบ เจ็บ ฟกช้ําดําเขียว
  • ชํา    ปักชํา เพาะ เพาะชํา ร้านชํา
  • วัสดุที่ใช้ช๊อตสัตว์น้ํา    การทําให้สลบ
  • ชัน    ๑ น. ยางไม้สำหรับยาเรือเป็นต้น. ๒ ก. ยกตั้งตรง เช่น ชันขา ชันเข่า; ตั้งขึ้น เช่น ขนชัน หูชัน. ว. ตรงขึ้นไป, ไม่ลาด, เช่น ตลิ่งชัน.
  • ชั้น    น. ที่สำหรับวางของอย่างหนึ่ง มีพื้นซ้อนกันคล้ายตู้แต่ไม่มีบานปิด; สิ่งที่ซ้อนลดหลั่นกันเป็นขั้น ๆ เช่น ฉัตร ๕ ชั้น; ขั้นที่ลดหลั่นกัน เช่น ชาติชั้นวรรณะ; ขั้น, ตอน, เช่น ชั้นนี้; ลำดับ เช่น มือคนละช
  • ชิน    ชินะ-, ชินนะ- น. ผู้ชนะ, พระพุทธเจ้า, ใช้ประกอบกับคำอื่นเป็น ชินวร ชิเนนทร์ หมายความว่า พระพุทธเจ้า. (ป., ส.). ๑ น. โลหะเจือชนิดหนึ่ง ประกอบด้วยตะกั่วและดีบุก นิยมใช้ทำพระเครื่อง; (โบ) ชิน หรือ ชินธ
  • ชิน-    ๔ ชินะ-, ชินนะ- น. ผู้ชนะ, พระพุทธเจ้า, ใช้ประกอบกับคำอื่นเป็น ชินวร ชิเนนทร์ หมายความว่า พระพุทธเจ้า. (ป., ส.).