ช้ำเลือดช้ำหนอง คือ
"ช้ำเลือดช้ำหนอง" การใช้"ช้ำเลือดช้ำหนอง" อังกฤษ"ช้ำเลือดช้ำหนอง" จีน
- ว. มีเลือดและหนองคั่งอยู่, สีที่มีลักษณะคล้ายมีเลือดและหนองปนกันออกสีม่วง ๆ เรียกว่า สีช้ำเลือดช้ำหนอง.
- ช้ำ ว. น่วมระบมเพราะถูกกระทบกระแทกอย่างแรงหรือบ่อย ๆ เช่น มะม่วงช้ำ, เป็นรอยจ้ำ ๆ อย่างรอยฟกช้ำดำเขียว.
- เลือ ( ถิ่น ) ว. บาง, ลาง.
- เลือด น. ของเหลวปรกติมีสีแดง อยู่ในหลอดเลือดและหัวใจของคนและสัตว์ ประกอบด้วยน้ำเลือดและเม็ดเลือด ส่วนที่เป็นสีแดงเกิดจากสีในเม็ดเลือดแดง
- ลือ ก. พูดกันทั่วไป แต่ยังไม่มีอะไรยืนยันได้แน่นอน เช่น เขาลือว่าจะเกิดเหตุที่ท่าน้ำ, (โบราณ ใช้ ฦๅ). ( ข. ).
- อด ก. กลั้น เช่น เหลืออด, งดเว้น เช่น อดฝิ่น อดอาหาร; ไม่ได้, ไม่สมหวัง, เช่น อดรับรางวัล อดดู; ไม่มีอะไรกิน เช่น อดอยู่ทั้งวัน. ว. ทน เช่น
- หน น. ทาง, ทิศ, เช่น หนเหนือ หนใต้; ครั้ง, คราว, เช่น กี่หน; ที่, สถานที่, เช่น ถึงยามค่ำน้ำค้างลงพร่างพร้อย น้องจะลอยลมบนไปหนใด. (นิราศอิเหนา),
- หนอ หฺนอ อ. คำออกเสียงแสดงความรำพึง เช่น ชีวิตนี้ไม่เที่ยงหนอ น่าอนาถจริงหนอ.
- หนอง ๑ หฺนอง น. แอ่งน้ำ. ๒ หฺนอง น. น้ำเลือดเสียกลายเป็นสีขาวข้นที่ลัดอยู่ตามแผลและฝี, น้ำหนอง ก็ว่า.
- นอ ๑ น. สิ่งที่งอกขึ้นเหนือจมูกแรด ยาวประมาณ ๑๒-๑๕ เซนติเมตร แข็งเหมือนเขาสัตว์; ปมที่นูนขึ้นตามอวัยวะเช่นที่ข้อศอกที่ศีรษะ. ( กลอน ) ก. โน เช่น
- นอง ก. ค้างขังอยู่บนพื้น (ใช้แก่น้ำ) เช่น น้ำนองถนน น้ำนองบ้าน.
- อง น. คำนำหน้านามของบุคคลซึ่งเป็นเชื้อพระวงศ์ของกษัตริย์ญวน เช่น องเชียงสือ องเชียงชุน,
- น้ำหนอง น. น้ำเลือดเสียกลายเป็นสีขาวข้นที่กลัดอยู่ตามแผลและฝี, หนอง ก็ว่า.
- อมเลือดอมหนอง ว. มีเลือดและหนองปนกันอยู่ข้างใน เช่น ฝีอมเลือดอมหนอง.
- เลือดชั่ว น. ผู้ที่สืบเชื้อสายมาจากพ่อแม่ที่ชั่ว, ความเลวร้ายที่มีอยู่ในตัว เช่น ตีหัวให้แตกเอาเลือดชั่วออกเสียบ้าง.
- นองเลือด ว. อย่างดุเดือดและต้องเสียเลือดเนื้อหรือล้มตายกันเป็นจำนวนมาก เช่น รบกันนองเลือด.
ประโยค
- ทำให้ศพเน่าช้ำเลือดช้ำหนองไปหมด
- ทำไมถึงช้ำเลือดช้ำหนองมาซะ ?