ตับเต่า คือ
สัทอักษรสากล: [tap tao] การออกเสียง:
"ตับเต่า" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
- น. (๑) ชื่อไม้น้ำชนิด Mimulus orbicularis Benth. ในวงศ์ Scrophulariaceae ใบกลม ดอกสีม่วงอ่อน ใบใช้เป็นผัก, ผักอีแปะ ก็เรียก.
(๒) ชื่อไม้น้ำชนิด Hydrocharis dubia (Blume) Backer ในวงศ์ Hydrocharitaceae ลำต้นกลม ดอกสีขาว ใบกินได้.
(๓) ชื่อเห็ดหลายชนิดหลายสกุลในวงศ์ Boletaceae ขึ้นตามพื้นดินใต้พุ่มไม้ยืนต้นหลายชนิด ดอกเห็ดใหญ่ สีน้ำตาลเข้ม ด้านล่างมีรูสีเหลืองอมเขียวหม่นไปจนถึงสีน้ำตาลอมเขียวหม่น โคนก้านใหญ่ กินได้.
- ตับ ๑ น. อวัยวะประเภทต่อมของระบบทางเดินอาหารของคนและสัตว์ อยู่ในช่องท้อง ทำหน้าที่ทำลายพิษ สร้างน้ำดีและโปรตีนบางชนิด เป็นต้น. ๒ น.
- เต ( แบบ ) ว. สาม, ใช้เติมหน้าศัพท์สังขยาเป็นเศษจำนวนเต็ม เช่น เตรสมสุรทิน = วันที่ ๑๓, เตรสีดิถี = วัน ๑๓ ค่ำ, เตวีสติมสุรทิน = วันที่ ๒๓,
- เต่า ๑ น. ชื่อสัตว์เลื้อยคลานในอันดับ Chelonia ตัวมีกระดองหุ้ม มีหลายชนิดและหลายวงศ์ ที่อยู่บนบก เช่น เต่าแขนง ที่อยู่ในน้ำจืด เช่น เต่านา
- ตีนเต่า น. เรียกกล้วยลูกเล็ก ๆ ที่อยู่ปลายเครือว่า กล้วยตีนเต่า.
- ตับเต่าขาว น. เห็ดตับเต่าขาว. [ดู จั่น ๕ (๒)].
- ต้นน้ำเต้า น้ำเต้า
- เต็มกอบเต็มกํา เต็มที่ เป็นกอบเป็นกํา
- ตัดเย็บเสื้อผ้า ตัดเสื้อ
- เวทีสําหรับเต้นรํา ฟลอร์เต้นรํา
- เห็ดจําพวกตับเต่า boletus
- เติมส่วนที่ต่อท้ายคํา ต่อท้าย เติมคําต่อท้าย
- เต้า ๑ น. เครื่องบนของเรือนสำหรับสอดที่ช่องปลายเสารับเชิงกลอน, ถ้าอยู่ตามเสาที่ไม่ใช่มุม เรียก เต้าราย, ถ้าอยู่ที่เสามุมรับเชิงชายทั้ง ๒ ข้าง เรียก เต้ารุม; (ราชา) หม้อใส่น้ำ เรียกว่า พระเต้าษิโณทก; นม;
- เต๋า ๑ น. ลูกบาศก์สำหรับทอดหรือเขย่านับแต้มเล่นการพนัน. ๒ น. ชื่อศาสนาสำคัญศาสนาหนึ่งของจีน มีศาสดาชื่อ เล่าจื๊อ หรือ เหลาจื่อ, เต้า ก็ว่า. (จ.).
- กบเต้น น. ชื่อเพลงไทยร้องรำ ๒ ชั้นสมัยกรุงศรีอยุธยา หน้าทับสองไม้ คือ ชั้นต้นมีทำนองช้าก่อนแล้วก็เร็วเข้ากำกับกันไป ใช้กับบทโศกหรือรัญจวน เช่นตอนรจนาคร่ำครวญน้อยใจที่สังข์ทองจะไม่ช่วยตีคลี. (ดึกดำบรรพ์).
- ฉบับเต็ม สมบูรณ์