ทฤฆ คือ
ทฺรึคะ-
ว. ยาว, ยืนยาว, เช่น ทฤฆชนม์ ทฤฆชาติ ทฤฆายุ. (แผลงมาจาก ส. ทีรฺฆ; ป. ทีฆ).
- ทฤฆ- ทฺรึคะ- ว. ยาว, ยืนยาว, เช่น ทฤฆชนม์ ทฤฆชาติ ทฤฆายุ. (แผลงมาจาก ส. ทีรฺฆ; ป. ทีฆ).
- ทฤษฎี ทฺริดสะดี น. ความเห็น; การเห็น, การเห็นด้วยใจ; ลักษณะที่คิดคาดเอาตามหลักวิชา เพื่อเสริมเหตุผลและรากฐานให้แก่ปรากฏการณ์หรือข้อมูลในภาคปฏิบัติ ซึ่งเกิดขึ้นมาอย่างมีระเบียบ. (ส.; ป. ทิฏฺิ). (อ. theory
- ทฤษฎีบท น. ข้อความที่พิสูจน์แล้วว่าเป็นจริง และใช้ในการอ้างอิงเพื่อพิสูจน์ข้อความอื่นได้. (อ. theorem).
- แง่ทฤษฎี เชิงทฤษฎี
- คิดทฤษฎี สร้างทฤษฎี
- ฉินทฤกษ์ ฉินทะเริก น. ฤกษ์ตัดจุก.
- ทฤษฎีคลื่น ทฤษฏีคลื่น
- ทฤษฎีจลน์ ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
- ทฤษฏีคลื่น ทฤษฎีคลื่น
- นักทฤษฎี ผู้สร้างทฤษฎี ผู้มีอุดมคติ
- สารทฤดู สาด, สาระทะรึดู น. ฤดูใบไม้ร่วง, ในประเทศเขตอบอุ่นทางซีกโลกเหนือ ซึ่งแบ่งฤดูกาลออกเป็น ๔ ฤดู คือ ฤดูหนาว (เหมันตฤดู) ฤดูใบไม้ผลิ (วสันตฤดู) ฤดูร้อน (คิมหันตฤดู) และฤดูใบไม้ร่วง (สารทฤดู) นั้น ฤดูใบไ
- เชิงทฤษฎี adj. เกี่ยวกับหรือประกอบด้วยทฤษฎี ชื่อพ้อง: แง่ทฤษฎี คำตรงข้าม: เชิงปฏิบัติ ตัวอย่างการใช้: เขาถนัดออกข้อสอบเชิงทฤษฎีมากกว่าปฏิบัติ
- เป็นทฤษฎี ซึ่งเกี่ยวกับอุดมการณ์หรืออุดมคติ เป็นความนึกคิด เป็นความเพ้อฝัน เป็นหลักการ
- กรุณาทฤคุณ -ทฺรึคุน (โบ; แบบ) น. กรุณาธิคุณ, คุณอันยิ่งใหญ่ คือ กรุณา.
- ตามทฤษฎี เชิงทฤษฎี ตามสมมุติฐาน ที่ยึดเอาทฤษฎีเป็นหลัก ตามหลักการ