ทำกรรมทำเวร คือ
สัทอักษรสากล: [tham] การออกเสียง:
"ทำกรรมทำเวร" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
- v.
ทำสิ่งที่เป็นทุกข์เป็นโทษ ชื่อพ้อง: ทำบาปทำกรรม, ทำเวรทำกรรม
ตัวอย่างการใช้: ผมคงจะได้ทำกรรมทำเวรไว้มากในชาติก่อนถึงได้ลำบากในชาตินี้
- ทำ ก. กระทำ, ประกอบขึ้น, ผลิตขึ้น, สร้างขึ้น, ก่อขึ้น, เช่น ทำเก้าอี้ ทำโต๊ะ ทำรองเท้า ทำรัง; ประกอบการงาน เช่น ทำนา ทำสวน ทำโป๊ะ; ดำเนินการ,
- ทำกรรม ก. ทำสิ่งที่เป็นทุกข์เป็นโทษ, ทำกรรมทำเวรก็ว่า.
- กร ๑ กอน น. ผู้ทำ, ใช้ประกอบเป็นส่วนหลังของสมาส เช่น กรรมกร เกษตรกร. ( ป. ). ๒ กอน น. มือ (มักใช้ในบทประพันธ์); แขน เช่น
- กรร ๑ กัน ( โบ ) ก. จับ เช่น กรกรรนฤบดี. ( สมุทรโฆษ ). ( ข. กาน่ ว่า ถือ). ๒ กัน ( เลิก ) ก. กัน เช่น เรือกรร. ๓ กัน-
- กรรม ๑ กำ, กำมะ- น. (๑) การ, การกระทำ, การงาน, กิจ, เช่น พลีกรรม ต่างกรรมต่างวาระ, เป็นการดีก็ได้ ชั่วก็ได้ เช่น กุศลกรรม อกุศลกรรม. (๒)
- รม ก. อบด้วยควันหรือไอไฟ เช่น ใช้ควันรมปลากะพงให้หอม ใช้ควันอ้อยรมเป็ดให้หอม รมผึ้งให้หนีหรือให้เมา, ทำให้ควันไฟหรือไอไฟเป็นต้นเกาะติดอยู่ เช่น
- มท กระทรวงมหาดไทย
- ทำเวร ก. ผลัดเปลี่ยนเวรกันทำงาน โดยเฉพาะทำความสะอาดห้องเรียนของนักเรียน; ก่อเวร, ผูกเวร, ทำเวรทำกรรม ก็ว่า.
- เวร ๑ น. ความพยาบาท, ความปองร้าย, บาป, เช่นเวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร; คำแสดงความรู้สึกเดือดร้อนเพราะกรรมหรือชะตากรรมของตนในอดีต เช่นเวรของฉันแท้
- วร วะระ-, วอระ- น. พร; ของขวัญ. ว. ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, เลิศ. ( ป. , ส. ).
- ทำเวรทำกรรม v. ทำสิ่งที่เป็นทุกข์เป็นโทษ ชื่อพ้อง: ทำบาปทำกรรม, ทำกรรมทำเวร ตัวอย่างการใช้: เขาทำเวรทำกรรมกับเธอไว้มาก
- ก่อกรรมทำเข็ญ ก. ก่อความเดือดร้อนให้ร่ำไป.
- ทำบาปทำกรรม v. กระทำความชั่ว, ประพฤติชั่ว ชื่อพ้อง: ทำบาป, ทำกรรม คำตรงข้าม: ทำความดี ตัวอย่างการใช้: ในพุทธศาสนาผู้ใดประกอบกรรมทำบาปทำกรรมก็จะได้รับโทษตามกรรมที่ทำไว้
- การก่อกรรมทำเข็ญ การฝ่าฝืน การทำความชั่ว การฝ่าฝืนกฎหมายและศีลธรรม
- บุญทำกรรมแต่ง (สำ) บุญหรือบาปที่ทำไว้ในชาติก่อนเป็นเหตุทำให้รูปร่างหน้าตาหรือชีวิตของคนเราในชาตินี้สวยงาม ดี ชั่ว เป็นต้น.