ทุคตะ คือ
"ทุคตะ" อังกฤษ
ทุกคะตะ
ว. ยากจน, เข็ญใจ. (ป. ทุคฺคต ว่า ถึงความยากแค้น).
- ทุ ๑ ว. คำอุปสรรคในภาษาบาลีและสันสกฤต แปลว่า ชั่ว, ยาก, ลำบาก, เลว, ทราม, เช่น ทุจริต ว่า ความประพฤติชั่ว, ทุกร ว่า ทำได้โดยยาก, ทุปปัญญา ว่า
- คต -คะตะ, -คด ก. ถึงแล้ว, ไปแล้ว, มักใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส เช่น ตถาคต สุคต สวรรคต ทิวงคต. ( ป. ).
- ตะ ก. ทา, ฉาบ, แตะ, กะไหล่ เช่น ตะทอง ว่า กะไหล่ทอง, ตะทองลาย ว่า กะไหล่ทองเป็นดวง ๆ, หรือ ตะถม เป็นต้น.
- ทุคติ ทุกคะติ น. ภูมิที่ถือว่าไปเกิดแล้วมีความทุกข์ความลำบาก, นรก. (ป. ทุคฺคติ).
- สวาคตะ สะหฺวาคะตะ น. คำกล่าวต้อนรับ. (ป., ส.).
- ทัศนคติ น. แนวความคิดเห็น.
- ทิวงคต (ราชา) ก. ไปสู่สวรรค์, ตาย, (ใช้แก่พระยุพราช หรือเจ้าฟ้าซึ่งได้รับการเฉลิมพระยศพิเศษ).
- แคต สมิท สมิท แคธรีน เอลิซาเบธ สมิท
- ภาคตะวันตก ภาคตะวันตกของสหรัฐอเมริกา แถบตะวันตก
- ทิฏฐานุคติ (แบบ) น. แบบอย่าง. (ป. ทิฏฺานุคติ ว่า ดำเนินตามสิ่งที่ปรากฏ).
- ทัศนคติที่ไม่ดี ความมุ่งร้าย ความรู้สึกไม่เป็นมิตร ความเป็นปรปักษ์
- คนภาคตะวันตก ชาวภาคตะวันออก
- คนภาคตะวันออก ชาวภาคตะวันออก
- -คต -คะตะ, -คด ก. ถึงแล้ว, ไปแล้ว, มักใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส เช่น ตถาคต สุคต สวรรคต ทิวงคต. (ป.).
- คติ ๑ คะติ น. การไป; ความเป็นไป. (ป.). ๒ คะติ น. แบบอย่าง, วิธี, แนวทาง. (ป.).