ธรา คือ
สัทอักษรสากล: [tha rā] การออกเสียง:
"ธรา" การใช้"ธรา" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
ทะรา
(แบบ) น. แผ่นดิน. (ป., ส.).
- ธร ทอน น. การยึดไว้, การถือไว้, การทรงไว้, การมีไว้; ผู้รักษาไว้, ผู้ทรงไว้, มักใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส เช่น วิชาธร วินัยธร. ( ป. ; ส. ธฺฤ).
- รา ๑ น. ไม้ที่กระหนาบอยู่ใต้ท้องพรึงรับพื้นเรือนเพื่อไม่ให้พื้นอ่อน อยู่ระหว่างรอด; ไม้จีมเสาที่ปากหลุมซึ่งยังไม่ได้กลบดินเพื่อกันไม่ให้โอนเอน
- ธราธร น. ผู้ทรงโลกไว้ คือ พระวิษณุ หรือ พระนารายณ์. (ส.).
- ธราดล น. พื้นแผ่นดิน. (ป.).
- ธราธิบดี น. พระเจ้าแผ่นดิน. (ส.).
- ธราธิป น. พระเจ้าแผ่นดิน. (ส.).
- พสุนธรา พะสุนทะ- น. แผ่นดิน. (ป. วสุนฺธรา; ส. fig0105.jpg (วสุํธรา)).
- วสุนธรา -สุนทะ- น. แผ่นดิน, พื้นดิน. (ป., ส.).
- ธราธาร น. ผู้ทรงโลกไว้ คือ พระวิษณุ หรือ พระนารายณ์. (ส.).
- ปโยธรา น. “ที่ทรงน้ำนมไว้” คือ ทรวงอกหรือนมหญิง. (ส.).
- ทศพิธราชธรรม น. จริยาวัตรที่พระเจ้าแผ่นดินทรงประพฤติเป็นหลักธรรมประจำพระองค์ หรือคุณธรรมของผู้ปกครองบ้านเมือง มี ๑๐ ประการ ได้แก่ ๑. ทาน - การให้ ๒. ศีล - การรักษากายวาจาให้เรียบร้อย ๓. บริจาค - ความเสียสละ
- ชราธรรม ว. มีชราเป็นธรรมดา, มีความแก่ความชำรุดทรุดโทรมเป็นธรรมดา.
- ธรรมราชา น. พระราชาแห่งธรรม คือ พระพุทธเจ้า, พระราชาผู้ทรงธรรม, พญายม.
- ราชธรรม น. จริยวัตรที่พระเจ้าแผ่นดินพึงประพฤติ, คุณธรรมของผู้ปกครองบ้านเมือง, มี ๑๐ ประการ เรียกว่า ทศพิธราชธรรม ได้แก่ ๑. ทาน-การให้ ๒. ศีล-ความประพฤติดีงาม ๓. ปริจจาคะ-การบริจาค, ความเสียสละ ๔. อาชชวะ
- นครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช
ประโยค
- ประธานของกาลวินี่ บริษัทค้าและจัดหาอาวุธรายใหญ่
- โดโธราคีนับถือความแข็งแรงเหนือสิ่งอื่นใด คาลีซี
- โดธราคีในเวสเทอรอส เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์
- หลังจากที่คิดว่าท่านจะปฏิเสธราชลัลลังก์เพราะข้า
- พวกเขาเป็นโดโธราคีกลุ่มแรกที่ได้ขึ้นมาอยู่บนเรือ
- เจ้ากับผองเพื่อนจึงขายข้าเยี่ยงม้า ให้โดธราคี
- ข้าฆ่าผู้พิทักษ์คาลของโดธราคี ในการปะทะครั้งเดียว
- ฝ่าบาทเองเรียนโดธราคีแค่ปีเดียวก็พอได้แล้วนะ
- และตอนนี้ เจ้ากำลังคิดค้น อาวุธรายกาจเป็นของตัวเอง
- มันอาจจะทำให้คุณโกรธรางครับ ถ้าฉันบอกคุณว่าคุณผิด !