เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

ธารณา คือ

การออกเสียง:
"ธารณา" การใช้"ธารณา" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
  • ทาระนา
    (แบบ) น. การทรงไว้. (ส.).
  • ธาร     ๑ ทาน น. การทรงไว้, การรับไว้, การหนุน, มักใช้เป็นบทหลังสมาส เช่น จุฑาธาร. ( ป. , ส. ). ๒ ทาน น. น้ำ, ลำธาร, ห้วย, หยาดน้ำ, ท่อน้ำ. (
  • ธารณ     ทาระนะ ว. ทั่วไป, ไม่เลือกหน้า. น. การตักบาตรที่ไม่เฉพาะเจาะจง เรียกว่า ธารณะ. (ตัดมาจากคำ สาธารณะ).
  • รณ     รน, รนนะ- น. เสียง, เสียงดัง; สงคราม. ก. รบ, รบศึก. ( ป. , ส. ).
  • ธารณามัย    (แบบ) ว. ซึ่งสำเร็จด้วยความทรงจำ. (ส.).
  • ธารณะ    ๑ ทาระนะ (แบบ) น. การทรงไว้. (ป., ส.). ๒ ทาระนะ ว. ทั่วไป, ไม่เลือกหน้า. น. การตักบาตรที่ไม่เฉพาะเจาะจง เรียกว่า ธารณะ. (ตัดมาจากคำ สาธารณะ).
  • ปวารณา    ปะวาระนา ก. ยอมให้ภิกษุสามเณรขอหรือเรียกร้องเอาได้ เช่น ขอของจากผู้ปวารณา ใบปวารณา; บอกยอมให้ใช้ได้ด้วยความเต็มใจ เช่น ขอปวารณาจะใช้อะไรก็บอก; พิธีกรรมทางศาสนายอมให้สงฆ์ว่ากล่าวตักเตือนได้ ทำในวันขึ
  • พิจารณา    พิจาน, พิจาระนา ก. ตรวจตรา, ตริตรอง, สอบสวน. (ป., ส. วิจาร, วิจารณ, วิจารณา).
  • การประณามในที่สาธารณะ    การกล่าวหา
  • สาธารณ    สาทาระนะ ว. เพื่อประชาชนทั่วไป เช่น สวนสาธารณะ โทรศัพท์สาธารณะ บ่อน้ำสาธารณะ, ทั่วไป เช่น ถนนนี้ไม่ใช่ถนนสาธารณะ อย่าแต่งตัวประเจิดประเจ้อในที่สาธารณะ. (ป., ส.).
  • สาธารณ-    สาทาระนะ ว. เพื่อประชาชนทั่วไป เช่น สวนสาธารณะ โทรศัพท์สาธารณะ บ่อน้ำสาธารณะ, ทั่วไป เช่น ถนนนี้ไม่ใช่ถนนสาธารณะ อย่าแต่งตัวประเจิดประเจ้อในที่สาธารณะ. (ป., ส.).
  • สาธารณ์    สาทาน ว. ต่ำ, เลว; ชั่วช้า, เช่น ดังกากาจชาติช้าสาธารณ์ จะประมาณหมายหงส์พงศ์พระยา. (อิเหนา), บางทีใช้เข้าคู่กับคำ ชั่วช้า เป็น ชั่วช้าสาธารณ์; ทั่ว ๆ ไป เช่น ของสาธารณ์. (ป., ส. ว่า ทั่วไป, สามัญ).
  • การพิจารณา    การครุ่นคิด การใคร่ครวญ การไตร่ตรอง การพินิจพิเคราะห์ การตรวจละเอียด การตัดสินใจ การคิดพิจารณา การสํารวจ การตรวจตราอย่างละเอียด การสํารวจทั่วไป การตรวจตรา การพินิจ การสังเกต การอภิปราย การถกเรื่อง ก
  • การพรรณา    การบรรยาย การบอก การอธิบาย การเล่า
  • คนพิจารณา    ผู้พิจารณา
  • ควรพิจารณา    น่าสนใจ น่าสังเกต สําคัญ น่าจดจํา
ประโยค
  • เราจะต้องเป็นที่ยอมรับของกระทรวงสาธารณาสุข และกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมให้ได้