เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

นมกระแชง คือ

การออกเสียง:
ความหมายมือถือ
  • น. ต้นไม้เถาชนิดหนึ่ง ใช้ทำยาได้. (พจน. ๒๔๙๓).
  • นม     นะมะ- น. การนอบน้อม, การเคารพ, การไหว้. ( ป. ; ส. นมสฺ). ๑ น. ส่วนของร่างกาย อยู่บริเวณหน้าอก มี ๒ เต้า,
  • มก     ( ถิ่น-ปักษ์ใต้ ) น. ปลากระบอก. ( ดู กระบอก ๒ ).
  • มกร     มะกอน, มะกอระ-, มะกะระ- น. มังกร, ชื่อดาวราศีที่ ๑๐. ( ป. , ส. ).
  • กร     ๑ กอน น. ผู้ทำ, ใช้ประกอบเป็นส่วนหลังของสมาส เช่น กรรมกร เกษตรกร. ( ป. ). ๒ กอน น. มือ (มักใช้ในบทประพันธ์); แขน เช่น
  • กระ     ๑ น. ชื่อเต่าทะเลชนิด Eretmochelys imbricata ในวงศ์ Cheloniidae หลังเป็นเกล็ดแผ่นโต ๆ
  • กระแชง     น. เครื่องบังแดดฝน โดยนำใบเตยหรือใบจากเป็นต้นมาเย็บเป็นแผง, ลักษณนามว่า ผืน ( เทียบ มลายู กระชัง = แผงสำหรับคลุมเรือหรือรถ เย็บด้วยใบไม้);
  • ระ     ก. กระทบเรียดไป เช่น เอาไม้ระรั้วสังกะสี.
  • แช     ว. เถลไถลไม่ตรงไปตรงมา, มักใช้เข้าคู่กับคำ เชือน เป็น แชเชือน หรือ เชือนแช.
  • ชง     ๑ ก. เทน้ำร้อนลงบนใบชาหรือยาเป็นต้นเพื่อให้รสออก. ๒ ( ถิ่น-ปักษ์ใต้ ) ว. งง, ชะงัก, ประหม่า.
  • เรือกระแชง    น. เรือบรรทุกชนิดหนึ่ง เล็กกว่าเรือเอี้ยมจุ๊น ท้องเรือกลมป้อม ใช้กระแชงทำเป็นประทุน.
  • แม่กระแชง    น. ปลาสลิดแห้งชนิดใหญ่.
  • พาลกระแชง    (ปาก) ก. พาลหาเรื่องทำให้วุ่นวาย.
  • หมาบ้าพาลกระแชง    (สำ) น. คนที่อาละวาดพาลหาเรื่องทำให้วุ่นวายทั่วไปหมด.
  • กระแชะ    (กลอน) ก. กระแซะ เช่น แกล้งทำเลียมและกระแชะชิด สะบิ้งสะบัดดัดจริตกิริยา. (คาวี).
  • กระชง    (โบ) ว. งง, ชะงัก, ประหม่า, เช่น นอนกระชงใจคราง ครั่นแค้น. (นิ. ตรัง), ภาษาถิ่นปักษ์ใต้ใช้ว่า ชง.