นาฏ- คือ
สัทอักษรสากล: [nāt ta] [nā ta] การออกเสียง:
"นาฏ-" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
นาด, นาตะ-, นาดตะ-
น. นางละคร, นางฟ้อนรำ, ใช้ประกอบกับคำอื่น หมายความว่า หญิงสาวสวย เช่น นางนาฏ นุชนาฏ. (ป., ส.).
- นา ๑ น. พื้นที่ราบทำเป็นคันกั้นน้ำเป็นแปลง ๆ สำหรับปลูกข้าวเป็นต้น, พื้นที่มีลักษณะคล้ายนาสำหรับทำประโยชน์อื่น ๆ เรียกตามสิ่งที่ทำ เช่น นาเกลือ
- นาฏ นาด, นาตะ-, นาดตะ- น. นางละคร, นางฟ้อนรำ, ใช้ประกอบกับคำอื่น หมายความว่า หญิงสาวสวย เช่น นางนาฏ นุชนาฏ. ( ป. , ส. ).
- นาฏกะ นาตะกะ, นาดตะกะ (แบบ) น. ผู้ฟ้อนรำ. (ป., ส.).
- นาฏย นาดตะยะ- (แบบ) ว. เกี่ยวกับการฟ้อนรำ, เกี่ยวกับการแสดงละคร, เช่น นาฏยศาลา. (ส. นาฏฺย).
- นาฏย- นาดตะยะ- (แบบ) ว. เกี่ยวกับการฟ้อนรำ, เกี่ยวกับการแสดงละคร, เช่น นาฏยศาลา. (ส. นาฏฺย).
- นาฏลีลา การร่ายรํา การเต้นรํา ลีลาศ
- นาฏศิลป์ นาดตะสิน น. ศิลปะแห่งการละครหรือการฟ้อนรำ. (ส.).
- อาฏานา น. เรียกชื่อพิธียิงปืนเพื่อขับไล่ภูตผีปีศาจตามประเพณีความเชื่อในระหว่างพระสงฆ์สวดอาฏานาฏิยสูตรในวันทำพิธีตรุษว่า ยิงปืนอาฏานา, อัฏนา ก็ว่า.
- นาฏกรรม นาดตะกำ น. การละครหรือการฟ้อนรำ; (กฎ) งานเกี่ยวกับการรำ การเต้น การทำท่า หรือการแสดงที่ประกอบขึ้นเป็นเรื่องราว และหมายความรวมถึงการแสดงโดยวิธีใบ้ด้วย. (ส.).
- นาฏดนตรี นาตะดนตฺรี น. ลิเก.
- รพินทรนาฏ ฐากูร ฐากูร
- สุขนาฏกรรม สุกขะนาดตะกำ น. วรรณกรรมโดยเฉพาะประเภทละครที่ลงท้ายด้วยความสุขหรือสมหวัง เช่นเรื่องอิเหนา ศกุนตลา ชิงนาง ปริศนา, โดยปริยายหมายถึงเรื่องราวหรือเหตุการณ์ทั่ว ๆ ไปที่ลงท้ายด้วยความสุขหรือสมหวัง เช่น ชี
- หัสนาฏกรรม น. ละครหรือเรื่องราวที่ตลกขบขัน.
- โศกนาฏกรรม โสกะนาดตะกำ, โสกกะนาดตะกำ น. วรรณกรรมโดยเฉพาะประเภทละครที่ลงท้ายด้วยความเศร้าหรือไม่สมหวัง ตัวเอกในเรื่องจะตายในที่สุด เช่นเรื่องลิลิตพระลอ สาวเครือฟ้า โรเมโอ-จูเลียต, โดยปริยายหมายถึงเรื่องราวหรือเ
- อาเทสนาปาฏิหาริย์ น. การดักใจเป็นอัศจรรย์ หมายถึง การดักใจทายใจคนได้อย่างน่าอัศจรรย์, เป็นปาฏิหาริย์อย่าง ๑ ในปาฏิหาริย์ ๓ ได้แก่ อิทธิปาฏิหาริย์ อาเทสนาปาฏิหาริย์ และอนุสาสนีปาฏิหาริย์.