บริเวณที่น้ำท่วม คือ
- กระแสคลื่น
ช่องทางที่กระแสน้ำขึ้นหรือลง
ทางกระแสน้ำ
- บร บอระ- ( แบบ ; กลอน ) น. ฝ่ายอื่น เช่น บรเทศ, ข้าศึก เช่น บรปักษ์. ( ป. , ส. ปร).
- บริเวณ บอริเวน น. พื้นที่ภายในขอบเขตที่กำหนดไว้ เช่น บริเวณบ้าน บริเวณโบสถ์ บริเวณวัด บริเวณสนามหลวง. ( ป. , ส. ปริเวณ).
- ริ ก. เริ่มคิดหรือทำแปลกจากปรกติ (มักใช้ในทางไม่ดี) เช่น ริสูบบุหรี่ ริเที่ยวกลางคืน, ริอ่าน ก็ว่า.
- วณ วะนะ- น. แผล, ฝี. ( ป. ; ส. วฺรณ).
- ที ๑ น. ครั้ง, คราว, หน, เช่น ทีละน้อย ทีละคน; ใช้เป็นลักษณนามบอกจำนวนครั้ง เช่น เฆี่ยน ๓ ที นาฬิกาตี ๕ ที. ๒ น. ท่าทาง, ชั้นเชิง, โอกาส, เช่น
- ที่ น. แหล่ง, ถิ่น, เช่น ที่ประกอบอาชีพ ที่ทำมาหากิน, สถานที่ เช่น ที่ประชุม ที่พัก, ตำแหน่งที่ เช่น เอาแว่นวางไว้ที่โต๊ะ; ที่ดิน เช่น ซื้อที่ ขายที่
- ี่ ที่ไม่ได้จํากัดหรือกําหนดล่วงหน้า โชคร้าย เงินสด ที่เปลี่ยนได้ง่าย
- น้ำ น. สารประกอบซึ่งมีองค์ประกอบเป็นธาตุไฮโดรเจนและออกซิเจนในอัตราส่วน ๑ : ๘ โดยน้ำหนัก เมื่อบริสุทธิ์มีลักษณะเป็นของเหลว ใส ไม่มีสี กลิ่น รส
- น้ำท่วม n. เป็นภัยตามธรรมชาติอย่างหนึ่งเกิดจากฝนตกในปริมาณมากและไหลระบายไม่ทัน ชื่อพ้อง: น้ำหลาก, อุทกภัย คำตรงข้าม: อัคคีภัย
- ท่วม ก. ไหลหลาก บ่า หรือเอ่อท้นจนลบพื้นที่หรือสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น น้ำท่วมทุ่ง น้ำท่วมบ้าน, กลบ เช่น ทรายท่วมเท้า, ซาบซึมไปทั่ว เช่น เหงื่อท่วมตัว,
- บริเวณที่มีน้ําซัดสาด การซัดสาด
- บริเวณที่ลุ่มมีน้ําขัง บริเวณหนองบึง
- บริเวณที่มีหญ้า หญ้า ทุ่งหญ้า
- บริเวณที่ลุ่ม ลุ่มน้ํา เขตที่ลุ่ม แถบที่ลุ่ม
- บริเวณที่สูง บริเวณที่ราบสูง ที่ดอน ที่ราบสูง