เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

ปฏิกิริยาของภูมิคุ้มกัน คือ

การออกเสียง:
"ปฏิกิริยาของภูมิคุ้มกัน" อังกฤษ"ปฏิกิริยาของภูมิคุ้มกัน" จีน
ความหมายมือถือ
  • การตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน
    การทนทานค่อภูมิคุ้มกัน
    การสร้างแอนติบอดี
    ความสามารถในการสร้างภูมิคุ้มกัน
    ปฏิกิริยาทางภูมิคุ้มกัน
  • ปฏิ     คำอุปสรรคในภาษาบาลีใช้นำหน้าศัพท์อื่น แปลว่า เฉพาะ, ตอบ, ทวน, กลับ. ( ป. ; ส. ปฺรติ).
  • ปฏิกิริยา     น. การกระทำตอบสนอง; การกระทำต่อต้าน; ผลของการกระทำซึ่งเป็นเหตุให้เกิดกิริยาสะท้อนมาเป็นอีกอย่างหนึ่ง; ( เคมี ) การเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมีของสาร.
  • กิริยา     น. การกระทำ; อาการที่แสดงออกมาด้วยกาย, มารยาท, บางทีใช้ในอาการที่ดี เช่น มีกิริยา หมายความว่า มีกิริยาดี. ( ป. ).
  • ริ     ก. เริ่มคิดหรือทำแปลกจากปรกติ (มักใช้ในทางไม่ดี) เช่น ริสูบบุหรี่ ริเที่ยวกลางคืน, ริอ่าน ก็ว่า.
  • ยา     น. สิ่งที่ใช้แก้หรือป้องกันโรค หรือบำรุงร่างกาย เรียกชื่อต่าง ๆ กัน คือ เรียกตามลักษณะก็มี เช่น ยาผง ยาเม็ด ยาน้ำ เรียกตามสีก็มี เช่น ยาแดง
  • ขอ     ๑ น. ไม้หรือเหล็กที่งอ ๆ สำหรับชัก เกี่ยว แขวน หรือสับ, ตะขอ หรือ ตาขอ ก็เรียก. ๒ ก. พูดให้เขาให้สิ่งที่ต้องการ, วิงวอน. ๓ น.
  • ของ     น. สิ่งต่าง ๆ. บ. แห่ง (ใช้สำหรับนำหน้านามที่เป็นผู้ครอบครอง).
  • อง     น. คำนำหน้านามของบุคคลซึ่งเป็นเชื้อพระวงศ์ของกษัตริย์ญวน เช่น องเชียงสือ องเชียงชุน,
  • ภู     ๑ น. ดิน, แผ่นดิน, โลก. ( ป. , ส. ). ๒ น. เนินที่สูงขึ้นเป็นจอม, เขา.
  • ภูม     น. บ้าน. ( ข. ).
  • ภูมิ     ๑ พูม, พูมิ-, พูมมิ- น. แผ่นดิน, ที่ดิน. ๒ พูม น. พื้น, ชั้น, พื้นเพ; ความรู้ เช่น อวดภูมิ อมภูมิ. ๓ พูม ว. สง่า, โอ่โถง, องอาจ,
  • ภูมิคุ้มกัน     พูม- น. สภาพที่ร่างกายมีแรงต่อต้านเชื้อโรคที่เข้าสู่ร่างกาย, ภูมิต้านทาน ก็เรียก.
  • มิ     ๑ ว. ไม่ เช่น มิทราบ มิควร มิบังอาจ. ๒ ก. เฉย, ไม่ค่อยพูดจา, เช่น รามสูรได้ยินสิ้นสติลงนั่งมิจะทำกระไรได้. (บทระบำตลก พระราชนิพนธ์ ร.๕).
  • มิค     มิคะ, มิกคะ- น. สัตว์ป่ามีกวางอีเก้งเป็นต้น. ( ป. ).
  • คุ     ว. ไหม้ระอุอยู่ข้างในอย่างไฟที่ไหม้ขอนไม้ระอุอยู่ข้างใน. ( ปาก ) ก. ดุ เช่น ถูกคุ.
  • คุ้ม     ๑ ก. กัน, ป้องกัน, เช่น คุ้มฝน; พอ, สม, พอสมควรกัน, เช่น คุ้มค่า คุ้มเหนื่อย; พอเท่ากัน เช่น คุ้มทุน. ว. มากพอสมควรกัน เช่น กินเสียคุ้ม. ๒ (
  • คุ้มกัน     ก. คอยป้องกันให้ปลอดภัย, คุ้มครองให้พ้นจากบางสิ่งบางอย่าง เช่น คุ้มกันโรค คุ้มกันไม่ให้ถูกฟ้องร้อง.
  • มก     ( ถิ่น-ปักษ์ใต้ ) น. ปลากระบอก. ( ดู กระบอก ๒ ).
  • กัน     ๑ ( ปาก ) ส. คำใช้แทนตัวผู้พูด เพศชาย พูดกับผู้เสมอกันหรือผู้น้อยในทำนองกันเอง, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑. ๒ ว.