เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

ปรมาภิไธย คือ

สัทอักษรสากล: [pø ra mā phi thai]  การออกเสียง:
"ปรมาภิไธย" การใช้"ปรมาภิไธย" อังกฤษ"ปรมาภิไธย" จีน
ความหมายมือถือ
  • ปะระมาพิไท, ปอระมาพิไท
    น. ชื่อ (ใช้เฉพาะพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว) เช่น ในพระปรมาภิไธย ทรงลงพระปรมาภิไธย. (ป. ปรมาภิเธยฺย).
  • ปร     ปะระ-, ปอระ- ว. อื่น, ใช้เป็นบทหน้าสมาส เช่น ปรปักษ์ ปรโลก. ( ป. ).
  • ปรม     ปะระมะ-, ปอระมะ- ว. อย่างยิ่ง (ใช้นำหน้าคำอื่นโดยมาก). ( ป. ).
  • รม     ก. อบด้วยควันหรือไอไฟ เช่น ใช้ควันรมปลากะพงให้หอม ใช้ควันอ้อยรมเป็ดให้หอม รมผึ้งให้หนีหรือให้เมา, ทำให้ควันไฟหรือไอไฟเป็นต้นเกาะติดอยู่ เช่น
  • มา     ๑ น. พระจันทร์. ( ป. ; ส. มาสฺ). ๒ ก. เคลื่อนออกจากที่เข้าหาตัวผู้พูด เช่น มานี่ มาหาฉันหน่อย, ตรงกันข้ามกับ ไป. ว.
  • พระปรมาภิไธย    n. ลายมือชื่อของพระมหากษัตริย์ ตัวอย่างการใช้: รัฐสภานำร่างรัฐธรรมนูญขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายเพื่อทรงลงพระปรมาภิไธย
  • นามาภิไธย    น. ชื่อ (ใช้เฉพาะสมเด็จพระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระบรมราชินี สมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระยุพราช สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช และสมเด็จพระบรมราชกุมารี), ราชาศัพท์ใช้ว่า พระนามาภิไธย เช่น ทรงลงพระนามาภิไธย.
  • พระนามาภิไธย    n. ชื่อ (ใช้เฉพาะพระราชินี สมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระยุพราช สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช และสมเด็จพระบรมราชกุมาร) เช่น ทรงลงพระนามาภิไธย ตัวอย่างการใช้: พระพุทธรูปทองประดับพระนามาภิไธยย่อ
  • อภิไธย    น. ชื่อ. (ป. อภิเธยฺย; ส. อภิเธย).
  • ปรมาภิเษก    ปะระ-, ปอระ- น. อภิเษกอย่างยิ่ง คือ การตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า. (ส.).
  • นามไธย    นามมะไท น. ชื่อตั้ง, ทินนาม (เช่นนามบรรดาศักดิ์). (ป. นามเธยฺย).
  • (อภิไธยโพธิบาทว์)    มาจาก หนังสือตำราโชคต่าง ๆ เลือกคัดจากฉบับของโบราณ นาวาตรีหลวงวุฒิวารีรณ ร.น. พิมพ์ พ.ศ. ๒๔๖๗
  • ธรรมาภิมุข    ทำมา- ว. หันหน้าเฉพาะธรรม, มุ่งแต่ยุติธรรม. (ส.; ป. ธมฺมาภิมุข).
  • ธรรมาภิสมัย    ทำมา- น. การตรัสรู้ธรรม, การสำเร็จมรรคผล. (ส.; ป. ธมฺมาภิสมย).
  • มัธยมา    มัดทะยะมา ว. มัชฌิมา, ปานกลาง. (ส.).
  • ปรมาณู    ปะระ-, ปอระ- น. ส่วนของสารที่มีขนาดเล็กที่สุดจนไม่สามารถจะแยกย่อยได้อีกด้วยวิธีเคมี. (ป., ส. ปรมาณุ).
ประโยค
  • พระปรมาภิไธยย่อคืออะไร ? วิธีการวาดรูปเล่มย่อ ?
  • หนึ่งเดียวจุดเหนือสุดยุโรป พิพิธภัณฑ์ไทย-ศิลาประวัติศาสตร์ จารึกพระปรมาภิไธยย่อ ’ จปร . ’