เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

ประจักษนิยม คือ

สัทอักษรสากล: [pra jak sa ni yom]  การออกเสียง:
"ประจักษนิยม" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
  • ปฺระจักสะ-
    น. ประสบการณ์นิยม.
  • ปร     ปะระ-, ปอระ- ว. อื่น, ใช้เป็นบทหน้าสมาส เช่น ปรปักษ์ ปรโลก. ( ป. ).
  • ประ     ปฺระ ใช้เติมหน้าคำอื่นเพื่อให้คำหนักแน่นขึ้น เช่น ชิด เป็น ประชิด, ท้วง เป็น ประท้วง; คำที่แผลงมาจาก ผ เช่น ผทม เป็น ประทม แล้วแผลง ประ เป็น บรร
  • ประจักษ     ว. ปรากฏชัด อาจเป็นทางตาหรือใจก็ได้ เช่น ประจักษ์แก่ตา ประจักษ์แก่ใจ. ( ส. ปฺรตฺยกฺษ; ป. ปจฺจกฺข).
  • ระ     ก. กระทบเรียดไป เช่น เอาไม้ระรั้วสังกะสี.
  • จัก     ๑ ก. ทำให้เป็นแฉก ๆ หรือหยัก ๆ คล้ายฟันเลื่อย, เอาคมมีดผ่าไม้ไผ่หรือหวายให้แตกจากกันเป็นเส้นบาง ๆ. ว. เป็นแฉก ๆ หรือหยัก ๆ. ๒ ( ไว )
  • กษ     กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
  • นิ     ( โบ ) ใช้เสริมคำให้พยางค์สละสลวยขึ้น เช่น สนุกนิ สำนักนิ.
  • นิยม     ( แบบ ) น. การกำหนด. ( ป. , ส. ). ก. ชมชอบ, ยอมรับนับถือ, ชื่นชมยินดี, ถ้าใช้ประกอบท้ายคำสมาสบางคำมีความหมายว่า ลัทธิ เช่น ชาตินิยม สังคมนิยม.
  • ยม     ๑ ก. ร้องไห้. ( ข. ). ๒ ยม, ยมมะ- น. เทพเจ้าผู้เป็นใหญ่ประจำโลกของคนตาย; ชื่อดาวเคราะห์ดวงที่ ๙ ในระบบสุริยะ มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า
  • อนุรักษนิยม    อะนุรักสะนิยม, อะนุรักนิยม น. อุดมคติทางการเมือง การเศรษฐกิจ เป็นต้น ที่มีแนวโน้มไปในทางต้านทานการเปลี่ยนแปลง โดยยึดถือสนับสนุนระเบียบที่ตั้งมั่นอยู่แล้ว.
  • ประจักษ-    ว. ปรากฏชัด อาจเป็นทางตาหรือใจก็ได้ เช่น ประจักษ์แก่ตา ประจักษ์แก่ใจ. (ส. ปฺรตฺยกฺษ; ป. ปจฺจกฺข).
  • ประจักษ์    ว. ปรากฏชัด อาจเป็นทางตาหรือใจก็ได้ เช่น ประจักษ์แก่ตา ประจักษ์แก่ใจ. (ส. ปฺรตฺยกฺษ; ป. ปจฺจกฺข).
  • นักปรัชญาลัทธิประจักษ์นิยม    นักคิดสายประจักษ์นิยม
  • นักคิดสายประจักษ์นิยม    นักปรัชญาลัทธิประจักษ์นิยม
  • ผู้ยึดถือลัทธิอนุรักษนิยม    สมาชิกพวกเอียงขวา adj