ประจิ้มประเจ๋อ คือ
- ว. พูดจาและแสดงกิริยาเสนอหน้าอย่างเด็ก.
- ปร ปะระ-, ปอระ- ว. อื่น, ใช้เป็นบทหน้าสมาส เช่น ปรปักษ์ ปรโลก. ( ป. ).
- ประ ปฺระ ใช้เติมหน้าคำอื่นเพื่อให้คำหนักแน่นขึ้น เช่น ชิด เป็น ประชิด, ท้วง เป็น ประท้วง; คำที่แผลงมาจาก ผ เช่น ผทม เป็น ประทม แล้วแผลง ประ เป็น บรร
- ระ ก. กระทบเรียดไป เช่น เอาไม้ระรั้วสังกะสี.
- จิ ( แบบ ) ก. จะ เช่น จิปากทั้งลิ้นล้า เพื่อเจ้าเจียรจันทร์. ( ทวาทศมาส ).
- จิ้ม ก. จุ่ม, จุ้ม, เช่น จิ้มน้ำพริก จิ้มหมึก; เอาสิ่งใดสิ่งหนึ่งทิ่มหรือแทงเบา ๆ เช่น จิ้มฟัน, เอาสิ่งใดสิ่งหนึ่งแตะ ๆ เช่น เอามะม่วงจิ้มพริกกะเกลือ.
- ิ้ พลิ้ว
- เจ น. อาหารที่ไม่ปรุงด้วยเนื้อสัตว์ และผักบางชนิดเช่นกระเทียม กุยช่าย ผักชี, แจ ก็ว่า. ( จ. ว่า แจ).
- เจ๋อ ก. เสนอหน้าเข้าไปในสถานที่ไม่สมควรเมื่อเขาไม่ต้องการหรือมิได้เรียกหา.
- จ๋อ น. คำใช้เรียกลิงหรือเด็กที่ซนอย่างลิงว่า อ้ายจ๋อ.
- ขลุมประเจียด ขฺลุม- น. ชื่อช้างตระกูลหนึ่ง ในอัคนีพงศ์ ประเภทศุภลักษณ์.
- ประเจิดประเจ้อ ว. อาการกระทำที่ถือกันว่าน่าละอายหรือไม่บังควรให้คนอื่นเห็น.
- ประจิ้มประจ่อง ก. หยิบหย่ง, ดัดจริตกรีดกราย.
- ประเจก ว. ปัจเจก, เฉพาะตัว, เฉพาะผู้เดียว. (ป. ปจฺเจก; ส. ปฺรเตฺยก).
- ประเจิด ก. บรรเจิด, เชิดขึ้นสูง, สูงเด่น, เฉิดฉาย. ว. งาม.
- ประเจียด น. ผ้าลงเลขยันต์ถือกันว่าเป็นเครื่องป้องกันอันตรายได้ ใช้เป็นผ้าผูกคอหรือผูกต้นแขนเป็นต้น.