ประสัยหาวหาร คือ
ปฺระไสหาวะหาน
น. การโจรกรรมด้วยใช้อำนาจกดขี่หรือกรรโชกให้กลัว.
- ปร ปะระ-, ปอระ- ว. อื่น, ใช้เป็นบทหน้าสมาส เช่น ปรปักษ์ ปรโลก. ( ป. ).
- ประ ปฺระ ใช้เติมหน้าคำอื่นเพื่อให้คำหนักแน่นขึ้น เช่น ชิด เป็น ประชิด, ท้วง เป็น ประท้วง; คำที่แผลงมาจาก ผ เช่น ผทม เป็น ประทม แล้วแผลง ประ เป็น บรร
- ประสัยห ปฺระไสหะ-, ปฺระไส ( แบบ ) ก. ข่มขี่, ข่มเหง. ( ส. ปฺรสหฺย; ป. ปสยฺห).
- ระ ก. กระทบเรียดไป เช่น เอาไม้ระรั้วสังกะสี.
- หา ๑ ก. มุ่งพบ, พบ, เช่น ไปหาหมอ เพื่อนมาหา; เยี่ยม, เยี่ยมเยียน, เช่น เพิ่งทราบว่าครูกำลังป่วย ต้องไปหาท่านเสียหน่อย; ฟ้อง, กล่าวโทษ, เช่น
- หาว น. ที่แจ้ง, ท้องฟ้า, เช่น กลางหาว. ก. กิริยาที่สูดลมเข้าแล้วระบายลมออกทางปากเมื่อเวลาง่วงนอนเป็นต้น.
- วหา น. แม่น้ำ. ( ส. ).
- หาร ๑ หาน ก. แบ่งส่วนเท่า ๆ กัน (ใช้แก่วิธีเลข). น. เรียกเครื่องหมายรูปดังนี้ ÷ ว่า เครื่องหมายหาร. ๒ หาน น. สิ่งที่เอาไปได้; การนำไป,
- ปสัยหาวหาร -หาวะหาน น. การโจรกรรมด้วยใช้อำนาจกดขี่หรือกรรโชกให้กลัว.
- ประสัยหาการ ปฺระไสหากาน น. การข่มเหง.
- การกล่าวหา n. การแจ้งต่อผู้มีอำนาจหน้าที่หรือสาธารณชนว่าผู้อื่นได้กระทำความผิด ตัวอย่างการใช้: รัฐบาลนี้จะเจรจาโดยไม่ติดใจหรือมีการกล่าวหาในใจว่าที่ผ่านมามีการตุกติกอะไรบ้าง
- หาประสบการณ์ หาความรู้รอบตัว เปิดหูเปิดตา
- กล่าวหา ก. ฟ้อง, กล่าวโทษ.
- ประสบปัญหา v. พบกับความยุ่งยาก หรือข้อที่ต้องแก้ไข ตัวอย่างการใช้: ปัจจัยในประเทศที่ทำให้เศรษฐกิจไทยประสบปัญหา คือ การตกต่ำของตลาดหลักทรัพย์ฯ
- ประสัยห- ปฺระไสหะ-, ปฺระไส (แบบ) ก. ข่มขี่, ข่มเหง. (ส. ปฺรสหฺย; ป. ปสยฺห).