ปริวัตร คือ
ปะริวัด
(แบบ) ก. ปริวรรต เช่น จะเชื้อเชิญพระดาบสให้ปริวัตรเป็นบรมกษัตริย์. (ม. กาพย์ สักบรรพ).
- ปร ปะระ-, ปอระ- ว. อื่น, ใช้เป็นบทหน้าสมาส เช่น ปรปักษ์ ปรโลก. ( ป. ).
- ปริ ปะริ- เป็นอุปสรรคในภาษาบาลีและสันสกฤต, ใช้นำหน้าศัพท์อื่นแปลว่า รอบ เช่น ปริมณฑล. ๒ ปฺริ ก. แย้ม, ผลิ, แตกแต่น้อย.
- ริ ก. เริ่มคิดหรือทำแปลกจากปรกติ (มักใช้ในทางไม่ดี) เช่น ริสูบบุหรี่ ริเที่ยวกลางคืน, ริอ่าน ก็ว่า.
- วัต น. วตะ, พรต, ข้อปฏิบัติ; ความประพฤติ. ( ป. วตฺต; ส. วฺฤตฺต).
- วัตร วัด, วัดตฺระ- น. กิจพึงกระทำ เช่น ทำวัตรเช้า ทำวัตรเย็น, หน้าที่ เช่น ข้อวัตรปฏิบัติ, ธรรมเนียม เช่น ศีลาจารวัตร; ความประพฤติ เช่น
- ตร หล่อ
- บัตรประจำตัว n. เอกสารแสดงฐานะโดยย่อของบุคคล มักมีรูปถ่ายของบุคคลนั้นติดอยู่ด้วย ชื่อพ้อง: บัตรประจำตัวประชาชน ตัวอย่างการใช้: ชาวบ้านที่จะมาขอรับเงินต้องแสดงบัตรประจำตัวเสียก่อน หัวคะแนนจึงจ่ายให้
- บัตรประจําตัว บัตรประจําตัวประชาชน บัตรประชาชน
- วันรับปริญญาบัตร วันรับปริญญา
- ตร.ว. ตารางวา
- ตริว ตฺริว น. เต่า, กริว หรือ จริว ก็ว่า. (พจน. ๒๔๙๓).
- วัตร- วัด, วัดตฺระ- น. กิจพึงกระทำ เช่น ทำวัตรเช้า ทำวัตรเย็น, หน้าที่ เช่น ข้อวัตรปฏิบัติ, ธรรมเนียม เช่น ศีลาจารวัตร; ความประพฤติ เช่น พระราชจริยวัตร, การปฏิบัติ เช่น ธุดงควัตร อุปัชฌายวัตร, การจำศีล. (
- ปริตร ปะหฺริด น. ความต้านทาน, เครื่องป้องกัน; พระพุทธมนต์ในเจ็ดตำนานที่เรียกว่า สัตปริตร และสิบสองตำนานที่เรียกว่า ทวาทศปริตร, ตำนานหนึ่ง เรียกว่า ปริตรหนึ่ง. ว. น้อย. (ส.; ป. ปริตฺต).
- ประวัติศาสตร์ชีวิต วงจรชีวิต
- วัดปริมาณอย่างเที่ยงตรง กําหนดจํานวนอย่างแม่นยํา