ปีชวด คือ
สัทอักษรสากล: [pī chuat] การออกเสียง:
"ปีชวด" การใช้"ปีชวด" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
- n.
ชื่อปีที่ 1 ของรอบปีนักษัตร มีหนูเป็นเครื่องหมาย
ตัวอย่างการใช้: คนเกิดปีชวดมักเป็นคนพูดจาเด็ดขาด ไม่ค่อยยิ้มแย้มมักทำอะไรตามใจตนเป็นใหญ่ ฟังเหตุผลของคนอื่นเป็นครั้งคราว
clf.: ปี
- ปี น. เวลาชั่วโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ครั้งหนึ่งราว ๓๖๕ วัน; เวลา ๑๒ เดือนตามสุริยคติ.
- ชว ชะวะ- ( แบบ ) ว. เร็ว, (มักใช้เป็นส่วนหน้าสมาส) เช่น ชวการ ชวกิจ ชวเลข, แผลงเป็น เชาว์ ก็มี.
- ชวด ๑ น. ชื่อปีที่ ๑ ของรอบปีนักษัตร มีหนูเป็นเครื่องหมาย. ( ข. ชูต). ๒ ก. ผิดหวัง, ไม่ได้ดังหวัง. ๓ ( ปาก ) น. พ่อหรือแม่ของปู่ ย่า ตา
- ชวดน้อย ทวดน้อย
- ปี่ชวา -ชะวา น. ชื่อปี่ชนิดหนึ่งที่ได้แบบมาจากชวา รูปร่างลักษณะทุกอย่างคล้ายปี่ไฉน แต่มีขนาดยาวกว่า.
- ปู่ทวด น. พ่อของปู่หรือของย่า.
- ชว- ชะวะ- (แบบ) ว. เร็ว, (มักใช้เป็นส่วนหน้าสมาส) เช่น ชวการ ชวกิจ ชวเลข, แผลงเป็น เชาว์ ก็มี.
- ปักลวดลาย ปัก เย็บปักถักร้อย ปักผ้า
- ปัจจัยสิ่งแวดล้อม สภาวะแวดล้อม สภาพอากาศปกติ
- ชวน ชะวะนะ- (แบบ) น. ความเร็ว, ความไว, ความเร็วของปัญญาหรือความคิด, แผลงเป็น เชาวน์ ก็มี. (ป., ส.). ๑ ก. จูงใจ, โน้มนำ, เช่น ชวนกิน; ชักนำ, ขอให้ทำตาม, เช่น ชวนไปเที่ยว.
- ชวน- ๒ ชะวะนะ- (แบบ) น. ความเร็ว, ความไว, ความเร็วของปัญญาหรือความคิด, แผลงเป็น เชาวน์ ก็มี. (ป., ส.).
- ชวย ก. พัดอ่อน ๆ, พัดเรื่อย ๆ, (ใช้แก่ลม).
- ชวร ชวน, ชะวะระ (แบบ) น. ไข้, ความไข้. ก. เป็นไข้, ป่วย. (ส.; ป. ชร).
- ชวัก ชะ- (กลอน) ก. ชัก เช่น เคล้าฟ้าเคลือกเปลวลาม พระรามพระลักษณชวักอร. (แช่งน้ำ).
- ชวา ชะ- น. ชื่อเกาะสำคัญที่สุดและเป็นที่ตั้งเมืองหลวงของประเทศอินโดนีเซีย, (โบ) ใช้ว่า ยะวา ก็มี, เรียกประชาชนที่พูดภาษาชวาว่า ชาวชวา; ชื่อปี่ชนิดหนึ่ง เรียกว่า ปี่ชวา.