ผาติกรรม คือ
"ผาติกรรม" การใช้
- น. การทำให้เจริญ, ใช้ในวินัยว่า การจำหน่ายครุภัณฑ์เพื่อประโยชน์สงฆ์อย่างใดอย่างหนึ่ง โดยเอาของเลวแลกเปลี่ยนเอาของดีกว่าให้แก่สงฆ์ หรือเอาของของตนถวายสงฆ์เป็นการทดแทนที่ตนทำของสงฆ์ชำรุดไปบ้าง, รื้อของที่ไม่ดีออกเสียทำให้ใหม่ดีกว่าของเก่า เช่น เอาที่วัดไปทำอย่างอื่นแล้วสร้างวัดถวายใหม่เป็นการชดใช้.
- ผา น. หินที่เขา เช่น หน้าผา เนินผา ผาลาด, ภูเขา เช่น เชิงผา, เรียกภูเขาด้านที่มีแผ่นหินตั้งชันว่า หน้าผา.
- ผาติ ว. เจริญขึ้น. ( ป. , ส. ).
- ติ ก. ชี้ข้อบกพร่อง.
- ติก ติกะ- ( แบบ ) น. หมวด ๓ คือ ที่รวมวัตถุหรือธรรมะอย่างละ ๓. ( ป. ).
- กร ๑ กอน น. ผู้ทำ, ใช้ประกอบเป็นส่วนหลังของสมาส เช่น กรรมกร เกษตรกร. ( ป. ). ๒ กอน น. มือ (มักใช้ในบทประพันธ์); แขน เช่น
- กรร ๑ กัน ( โบ ) ก. จับ เช่น กรกรรนฤบดี. ( สมุทรโฆษ ). ( ข. กาน่ ว่า ถือ). ๒ กัน ( เลิก ) ก. กัน เช่น เรือกรร. ๓ กัน-
- กรรม ๑ กำ, กำมะ- น. (๑) การ, การกระทำ, การงาน, กิจ, เช่น พลีกรรม ต่างกรรมต่างวาระ, เป็นการดีก็ได้ ชั่วก็ได้ เช่น กุศลกรรม อกุศลกรรม. (๒)
- รม ก. อบด้วยควันหรือไอไฟ เช่น ใช้ควันรมปลากะพงให้หอม ใช้ควันอ้อยรมเป็ดให้หอม รมผึ้งให้หนีหรือให้เมา, ทำให้ควันไฟหรือไอไฟเป็นต้นเกาะติดอยู่ เช่น
- กรรมชวาต กำมะชะวาด น. ลมเกิดแต่กรรม คือ ลมเกิดในครรภ์เวลาคลอดบุตร ได้แก่ ลมเบ่ง เช่น พอถึงพระหัตถ์พระราชเทวีก็ทรงจับเอากิ่งรัง พอเกิดลมกรรมชวาตหวั่นไหวประชวรพระครรภ์. (ปฐมสมโพธิกถา). (สฺ กรฺม + ช = เกิด + วา
- กรรมัชวาต กำมัดชะ- ดู กรรมชวาต.
- ฆาตกรรม น. การฆ่าคน. (ป. ฆาต + ส. กรฺมนฺ).
- กระทําฆาตกรรม ทําให้ตาย
- นักกายกรรมผาดโผน การแสดงผาดโผน นักกายกรรม
- การฆาตกรรม ฆาตกรรม อาชญากรรม การกระทําผิด การข่มขืนกระทําชําเรา การฆ่าสัตว์ขาย คนฆ่าคนตายอย่างทารุณโหดร้าย โรงฆ่าสัตว์ การฆ่า การฆ่าฟัน การสังหาร การเข่นฆ่า การประหาร การฆ่าสังหาร การลอบสังหาร
- ฆาตกรรมหมู่ ฆ่าคนจํานวนมากๆ อย่างทารุณ สังหารหมู่
ประโยค
- บริเวณใกล้ ๆ กันมีหอระฆังที่มีรูปแบบเฉพาะถิ่นต่างไปจากท้องถิ่นอื่นซึ่งหาดูได้ยาก เมืองโบราณได้ขอผาติกรรมมาจากวัดเดียวกัน