ผู้ปลอมแปลง คือ
"ผู้ปลอมแปลง" การใช้"ผู้ปลอมแปลง" อังกฤษ"ผู้ปลอมแปลง" จีน
- ของปลอม
ของปลอมแปลง
ของเก๊
ผู้หลอกลวง
ผู้เสแสร้ง
ผู้แอบอ้าง
- ผู้ น. คำใช้แทนบุคคล เช่น นายกรัฐมนตรีเป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ หรือใช้แทนคำว่า คน เช่น ผู้นั้น ผู้นี้ ทุกผู้ทุกนาม หรือใช้แทนสิ่งที่ถือเสมือนคน
- ปลอม ปฺลอม ก. ทำให้เหมือนคนอื่นหรือสิ่งอื่น เพื่อให้หลงผิดว่าเป็นคนนั้นหรือสิ่งนั้น เช่น ปลอมตัว. ว. ไม่แท้หรือไม่จริงตามสภาพของสิ่งนั้น เช่น
- ปลอมแปลง -แปฺลง ก. ทำเลียนแบบให้ดูเหมือนของจริง.
- ลอม ก. รวมตะล่อมกันขึ้นไปให้เป็นจอม; อาการที่โค้งเข้าหากันเป็นวง เช่น ควายเขาลอม, รอม ก็ว่า. น. เรียกกองฟางกองข้าวเป็นต้นซึ่งมีลักษณะเช่นนั้นว่า
- อม ก. เอาสิ่งของใส่ปากแล้วหุบปากไว้ไม่กลืนลงไป, โดยปริยายหมายความว่า ไม่แสดงออกมา เช่น อมภูมิ; กลมกลืน, ปนกัน, เช่น อมเปรี้ยวอมหวาน เขียวอมเหลือง; (
- แป น. ส่วนหนึ่งของโครงสร้างหลังคา วางอยู่บนโครงสร้างอื่น ๆ ได้แก่ จันทัน ปลายเต้า เสาตุ๊กตา ปลายขื่อ และปลายขื่อประธาน
- แปล แปฺล ก. ถ่ายความหมายจากภาษาหนึ่งมาเป็นอีกภาษาหนึ่ง, ทำให้เข้าใจความหมาย.
- แปลง ๑ แปฺลง น. ที่โล่งแห่งหนึ่ง ๆ เช่น คล้องช้างกลางแปลง, พื้นที่ที่กำหนดไว้แห่งหนึ่ง ๆ เช่น นาแปลงหนึ่ง,
- ปลง ปฺลง ก. เอาลง เช่น ปลงหม้อข้าว, ปล่อยหรือเปลื้องให้พ้นไป (ในลักษณะที่รู้สึกว่าหนักอยู่) เช่น ปลงหาบ; เมื่อใช้ประกอบกับคำอื่น มีความหมายต่าง ๆ.
- ลง ก. ไปสู่เบื้องต่ำหรือไปสู่เบื้องที่ถือว่าตรงข้ามกับขึ้น เช่น น้ำลง เครื่องบินลง, ไปสู่พื้นดินและพื้นอื่น ๆ เช่น ลงดิน ลงบันได ลงเรือ;
- การปลอมแปลง การหลอกลวง มารยา การตบตา การแสร้ง การปลอมตัว การแอบซ่อน การทำเทียม
- ของปลอมแปลง ของปลอม ของเก๊ ผู้ปลอมแปลง ผู้หลอกลวง ผู้เสแสร้ง ผู้แอบอ้าง ของเทียม เงินปลอม
- คนปลอมแปลง คนพิถีพิถัน คนเจ้าระเบียบ คนเสแสร้ง คนเห่อ ผู้ประจบสอพลอคนที่มีฐานะสูงแต่วางตัวปั้นปึ่งกับผู้มีฐานะต่ำกว่า ผู้อยากเป็นผู้ดี
- ซึ่งทําปลอมแปลง ซึ่งทําเลียนแบบ ซึ่งสร้างขึ้นมา
- ซึ่งปลอมแปลง ซึ่งแอบอ้าง
ประโยค
- ผู้ปลอมแปลงไม่อาจห้ามใจ ไม่ให้ใส่ตัวตนของตนเองลงในงาน
- เพียงการตวัดแปรงหนึ่งครั้งที่ผู้ปลอมแปลง ทรยศต่อตนเองอย่างไม่อาจหลีกเลี่ยงได้