เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

ผู้ลงสมัครรับเลือกตั้ง คือ

การออกเสียง:
"ผู้ลงสมัครรับเลือกตั้ง" การใช้"ผู้ลงสมัครรับเลือกตั้ง" อังกฤษ"ผู้ลงสมัครรับเลือกตั้ง" จีน
ความหมายมือถือ
  • ผู้ลงรับเลือกตั้ง
    ผู้ลงสมัคร
    ผู้สมัครรับเลือกตั้ง
    นอมินี
    ผู้สมัคร
  • ผู้     น. คำใช้แทนบุคคล เช่น นายกรัฐมนตรีเป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ หรือใช้แทนคำว่า คน เช่น ผู้นั้น ผู้นี้ ทุกผู้ทุกนาม หรือใช้แทนสิ่งที่ถือเสมือนคน
  • ผู้ลงสมัคร     ผู้ลงรับเลือกตั้ง ผู้ลงสมัครรับเลือกตั้ง ผู้สมัครรับเลือกตั้ง
  • ลง     ก. ไปสู่เบื้องต่ำหรือไปสู่เบื้องที่ถือว่าตรงข้ามกับขึ้น เช่น น้ำลง เครื่องบินลง, ไปสู่พื้นดินและพื้นอื่น ๆ เช่น ลงดิน ลงบันได ลงเรือ;
  • ลงสมัคร     v. เข้าร่วมลงแข่งขันอย่างเต็มใจ ชื่อพ้อง: สมัคร ตัวอย่างการใช้: เขาลงสมัคร ส.ส. ครั้งแรกก็สอบตกเสียแล้ว
  • ลงสมัครรับเลือกตั้ง     v. ขอเข้ารับการเลือกตั้ง ชื่อพ้อง: สมัครรับเลือกตั้ง คำตรงข้าม: ลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง ตัวอย่างการใช้: นายชวน
  • สม     ๑ ว. เหมาะ, เหมาะกับ, ควรแก่, เช่น บ่าวสาวคู่นี้สมกัน เขาแต่งตัวสมฐานะ แสดงละครได้สมบทบาท เขาต่อสู้กันอย่างสมศักดิ์ศรี เด็กคนนี้แต่งตัวไม่สมวัย,
  • สมัคร     สะหฺมัก ก. ยื่นความจำนงขอเข้าร่วมเป็นสมาชิกหรือร่วมในกิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งเป็นต้น เช่น สมัครเป็นสมาชิกสมาคม สมัครเข้าทำงาน, บางทีก็มีคำ ใจ
  • สมัครรับเลือกตั้ง     ลงสมัครรับเลือกตั้ง
  • มัค     มักคะ- ( แบบ ) น. ทาง. ( ดู มรรค ). ( ป. มคฺค; ส. มรฺค).
  • รับ     ก. ยื่นมือออกถือเอาสิ่งของที่ผู้อื่นส่งให้ เช่น รับของ รับเงิน, ถือเอาสิ่งของที่ผู้อื่นส่งมาให้ เช่น รับจดหมาย รับพัสดุภัณฑ์, ไปพบ ณ
  • เลือ     ( ถิ่น ) ว. บาง, ลาง.
  • เลือก     ๑ ก. คัดสิ่งที่มีจำนวนมากกว่าหนึ่งขึ้นไปเพื่อเอาไว้หรือเอาออกตามต้องการ เช่น เลือกผู้ใหญ่บ้าน เลือกหัวหน้าชั้น. ๒ ว. เป็นเมือก, เหนียว ๆ
  • เลือกตั้ง     ก. เลือกสรรบุคคลให้เป็นผู้แทนหรือให้ดำรงตำแหน่งด้วยการออกเสียงลงคะแนน เช่น เลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เลือกตั้งกรรมการ.
  • ลือ     ก. พูดกันทั่วไป แต่ยังไม่มีอะไรยืนยันได้แน่นอน เช่น เขาลือว่าจะเกิดเหตุที่ท่าน้ำ, (โบราณ ใช้ ฦๅ). ( ข. ).
  • อก     ๑ น. ส่วนของร่างกายด้านหน้าอยู่ระหว่างคอกับท้อง; ใจ เช่น อกกรม อกเขาอกเรา; เรียกไม้ที่เป็นแกนกลางของตัวว่าวว่า อกว่าว;
  • อกตั้ง     ว. เต็มที่, เต็มแรง, เช่น วิ่งอกตั้ง เดินอกตั้ง; เรียกอาการที่นั่งหรือยืนตัวตรงว่า นั่งอกตั้ง ยืนอกตั้ง.
  • ตั้ง     ก. ชูตัว, ชูตัวหรือทำให้ทรงตัวในลักษณะที่ไม่ใช่นอนหรือล้ม, เช่น ขนตั้งชัน ต้นข้าวเอนแล้วกลับตั้งขึ้น ตั้งขวด ตั้งตุ๊กตา; ทรง, ดำรง, เช่น
ประโยค
  • ฉันคือผู้ลงสมัครรับเลือกตั้งนะ !