พระพุทธภาษิต คือ
"พระพุทธภาษิต" อังกฤษ
- n.
ถ้อยคำอันเป็นคำกล่าวของพระพุทธเจ้า
ตัวอย่างการใช้: พระพุทธภาษิตเป็นถ้อยคำที่เราสามารถนำมาใช้ในชีวิตประจำวันได้ทุกยุคทุกสมัย
- พร พอน น. คำแสดงความปรารถนาให้ประสบสิ่งที่เป็นสิริมงคล เช่น ให้พร ถวายพระพร, สิ่งที่ขอเลือกเอาตามประสงค์ เช่น ขอพร. ( ป. วร).
- พระ พฺระ น. คำใช้แทนชื่อเรียกภิกษุสงฆ์ เช่น วัดนี้มีพระกี่องค์ พระลงโบสถ์, พระพุทธรูป เช่น ชักพระ ไหว้พระในโบสถ์, พระพุทธเจ้า หรือ
- พระพุทธ n. พระผู้ตรัสรู้, ผู้ตื่นแล้ว, ผู้เบิกบานแล้ว (ใช้เฉพาะพระพุทธเจ้า) ตัวอย่างการใช้: พระรัตนตรัยประกอบด้วย พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์
- ระ ก. กระทบเรียดไป เช่น เอาไม้ระรั้วสังกะสี.
- พุ ว. อาการที่น้ำหรือแก๊สเป็นต้นผุดขึ้นมา เช่น น้ำร้อนพุขึ้นมา แก๊สธรรมชาติพุขึ้นมา, อาการที่น้ำเหลืองเป็นต้นผุดขึ้นมา เช่น ฝีฝักบัวพุ. น.
- พุทธ พุด, พุดทะ- น. ผู้ตรัสรู้, ผู้ตื่นแล้ว, ผู้เบิกบานแล้ว, ใช้เฉพาะเป็นพระนามของพระบรมศาสดาแห่งพระพุทธศาสนา เรียกเป็นสามัญว่า พระพุทธเจ้า. ( ป. ).
- พุทธภาษิต n. ภาษิตทางศาสนาพุทธ ตัวอย่างการใช้: รัฐบาลต้องสำนึกเสมอว่า การที่จะหวังพึ่งความช่วยเหลือจากใคร เราจะต้องช่วยตัวเองก่อน
- ภา น. แสงสว่าง, รัศมี. ( ป. , ส. ).
- ภาษ พาด ก. พูด, กล่าว, บอก. ( ส. ; ป. ภาส).
- ภาษิต น. ถ้อยคำหรือข้อความที่กล่าวสืบต่อกันมาช้านานแล้ว มีความหมายเป็นคติ เช่น กงเกวียนกำเกวียน. ( ส. ).
- พระพุทธประวัติ n. ประวัติของพระพุทธเจ้า ตัวอย่างการใช้: ภาพเหล่านั้นแสดงถึงเหตุการณ์ในพระพุทธประวัติ ครั้งพระพุทธเจ้ายังทรงดำรงพระชนย์ชีพอยู่
- พระพุทธคุณ n. คุณของพระพุทธเจ้าอย่างย่อที่สุดมี 3 ประการ คือ พระบริสุทธิคุณ พระปัญญาคุณ พระกรุณาคุณ ตัวอย่างการใช้: ข้าพเจ้าขอน้อมกายก้มกราบพระพุทธคุณอันประเสริฐสุดในไตรโลกด้วยเศียรเกล้า
- พระพุทธบาท n. รอยพระพุทธบาทของพระพุทธเจ้า อันเป็นที่สักการะบูชาของพุทธศาสนิกชน ชื่อพ้อง: รอยพระบาท, รอยเท้า ตัวอย่างการใช้: รอยพระพุทธบาทที่จังหวัดขอนแก่นเป็นรอยพระพุทธบาทสลักลงบนพื้นหินทรายธรรมช
- พระพุทธมนต์ n. คำสำหรับสวดบูชาพระพุทธ ตัวอย่างการใช้: พ่อนิมนต์พระสงฆ์มาเจริญพระพุทธมนต์ เนื่องในงานทำบุญขึ้นบ้านใหม่
- พระพุทธรูป n. รูปหล่อจำลองพระพุทธเจ้า, รูปปั้นพระพุทธเจ้า ชื่อพ้อง: พุทธรูป ตัวอย่างการใช้: เพื่อให้พุทธศาสนิกชนได้ระลึกถึงเหตุการณ์สำคัญต่างๆ แบบท่าทางของพระพุทธรูปจึงมีลักษณะเป็นปางต่างๆ ตามพุทธป