พิสมัยเรียงหมอน คือ
- น. ชื่อวิธีรำท่าหนึ่งอยู่ในลำดับว่า พรหมนิมิต พิสมัยเรียงหมอน. (ฟ้อน).
- พิสมัย พิดสะไหฺม น. ความรัก, ความปลื้มใจ, ความชื่นชม. ก. รักใคร่หลงใหล เช่น ฉันไม่เห็นจะพิสมัยเธอเลย. ว. ควรชม. ( ส. วิสฺมย; ป. วิมฺหย ว่า
- สม ๑ ว. เหมาะ, เหมาะกับ, ควรแก่, เช่น บ่าวสาวคู่นี้สมกัน เขาแต่งตัวสมฐานะ แสดงละครได้สมบทบาท เขาต่อสู้กันอย่างสมศักดิ์ศรี เด็กคนนี้แต่งตัวไม่สมวัย,
- สมัย สะไหฺม น. เวลา, คราว, เช่น สมัยโบราณ สมัยกลาง สมัยปัจจุบัน, มักใช้เข้าคู่กับคำ กาล เป็น กาลสมัย. ( ป. , ส. ).
- มัย ๑ น. ม้า, ลา, อูฐ. ( ป. , ส. มย). ๒ ว. สำเร็จด้วย, แล้วด้วย, ประกอบด้วย, (ใช้ประกอบท้ายสมาส เช่น มโนมัย ว่า สำเร็จด้วยใจ, กุศลมัย ว่า
- เรียง ก. จัดให้เป็นแถวหรือเป็นลำดับเป็นต้น เช่น จัดแถวหน้ากระดานเรียงสอง เข้าแถวเรียงตามลำดับไหล่ เรียงไข่ใส่ตะกร้า;
- เรียงหมอน น. ชื่อดิถีเนื่องในพิธีส่งตัวบ่าวสาวเข้าหอ กำหนดตามวันทางจันทรคติ.
- รี ว. เรียว, ถ้ากลมเรียวอย่างรูปไข่ เรียกว่า กลมรี, ถ้ายาวเรียวและมีหัวท้ายอย่างเมล็ดข้าวสาร เรียกว่า ยาวรี, ไม่กลม เช่น วงรี, ยาว เช่น หันรีหันขวาง
- ยง ๑ ว. อร่ามเรือง, มักใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส เช่น โฉมยง ยุพยง. ๒ ว. ยั่งยืน, มั่นคง, คงทน, ยืนนาน, เช่น อยู่ยงคงกระพัน ยืนยง. ๓ ว. กล้าหาญ
- หมอ ๑ น. ผู้รู้, ผู้ชำนาญ, เช่น หมองู หมอนวด; ผู้ตรวจรักษาโรค เช่น หมอฟัน หมอเด็ก. ๒ ( ปาก ) ใช้เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒ เรียกเด็กด้วยความเอ็นดูว่า
- หมอน หฺมอน น. เครื่องสำหรับหนุนศีรษะหรือหนุนสิ่งต่าง ๆ เป็นต้น, เรียกตามรูปทรงก็มี เช่น หมอนขวาน หมอนตะพาบ หมอนหน้าอิฐ,
- มอ ๑ น. ชื่อเรือต่อเสริมกราบขนาดใหญ่มาก ส่วนใหญ่ใช้บรรทุกข้าวเปลือกและเกลือ. ๒ น. เนินดินเล็ก ๆ อย่างภูเขา, เขาจำลองที่ทำไว้ดูเล่นในบ้าน
- มอน น. ใจกลาง, ส่วนสำคัญ, เช่น มอนไข่ คือ ไข่แดง. ว. สนุก, เพราะ, หวาน, เช่น ใจมอน = ใจหวาน, ใจดี.
- อน อะนะ- เป็นคำปฏิเสธ แปลว่า ไม่, ไม่ใช่, ใช้ประกอบหน้าศัพท์บาลีและสันสกฤตที่ขึ้นต้นด้วยสระ เช่น อาทร = เอื้อเฟื้อ, อนาทร = ไม่เอื้อเฟื้อ. ( ดู อ ๒
- คู่เคียงเรียงหมอน น. ผัวเมียที่อยู่ร่วมทุกข์ร่วมสุขกัน, ชายหญิงที่อยู่กินร่วมกันฉันผัวเมีย, คู่เรียงเคียงหมอน ก็ว่า.
- คู่เรียงเคียงหมอน น. ผัวเมียที่อยู่ร่วมทุกข์ร่วมสุขกัน, ชายหญิงที่อยู่กินร่วมกันฉันผัวเมีย, คู่เคียงเรียงหมอน ก็ว่า.