ฟังเทศน์ คือ
สัทอักษรสากล: [fang thēt] การออกเสียง:
"ฟังเทศน์" การใช้"ฟังเทศน์" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
- v.
สดับพระธรรมเทศนา ชื่อพ้อง: ฟังธรรม, ฟังเทศน์ฟังธรรม
ตัวอย่างการใช้: ชาวพุทธหลายครอบครัวต่างมาฟังเทศน์ที่วัดเป็นประจำ
- ฟัง ก. ตั้งใจสดับ, คอยรับเสียงด้วยหู, ได้ยิน; เชื่อ, ทำตามถ้อยคำ เช่น ให้ฟังคำสั่งผู้บังคับบัญชา.
- เท ก. ตะแคงหรือเอียงภาชนะเพื่อให้สิ่งที่อยู่ในนั้นไหลลงไปหรือออกไป เช่น เทน้ำ เทขยะ, โดยปริยายหมายถึงกิริยาอาการคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ฝนตกลงมามาก ๆ
- เทศ เทด, เทดสะ-, เทสะ ว. ต่างประเทศ เช่น เครื่องเทศ ม้าเทศ. น. ถิ่นที่, ท้องถิ่น, มักใช้เป็นส่วนหน้าสมาส.
- เทศน์ เทด, เทสะนา, เทดสะหฺนา น. การแสดงธรรมสั่งสอนในทางศาสนา. ก. แสดงธรรม เช่น พระเทศน์, ( ปาก ) โดยปริยายหมายความว่า ดุด่าว่ากล่าวอย่างยืดยาว เช่น
- ทศ ๑ ทด, ทดสะ- น. เรียกเหรียญทองสมัยรัชกาลที่ ๔ ชนิดหนึ่ง มีค่าเท่ากับ ๑ ใน ๑๐ ของชั่ง = ๘ บาท ว่า ทองทศ. ว. สิบ, มักใช้เป็นส่วนหน้าสมาส. ๒
- ฟังเทศน์ฟังธรรม ฟังธรรม ฟังเทศน์
- ซึ่งเทศนา ซึ่งสั่งสอนยืดยาว
- เชิงเทศนา ชอบสั่งสอน เชิงปราชญ์ เต็มไปด้วยคติพจน์ เต็มไปด้วยสุภาษิต เล่นสำนวน
- เทศนา เทด, เทสะนา, เทดสะหฺนา น. การแสดงธรรมสั่งสอนในทางศาสนา. ก. แสดงธรรม เช่น พระเทศน์, (ปาก) โดยปริยายหมายความว่า ดุด่าว่ากล่าวอย่างยืดยาว เช่น วันนี้ถูกเทศน์เสียหลายกัณฑ์. (ป. เทสนา).
- กัณฑ์เทศน์ น. เครื่องไทยธรรมถวายพระผู้แสดงพระธรรมเทศนา, สิ่งของสำหรับถวายพระผู้แสดงพระธรรมเทศนา, เครื่องกัณฑ์ ก็ว่า; เรียกการเอาเงินติดเทียนบูชากัณฑ์เทศน์หรือเรียกการเอาเงินหรือสิ่งของบูชาธรรมเนื่องในการเทศน์ว
- นักเทศน์ น. ผู้ชำนาญในการเทศน์.
- ผู้เทศนา นักเทศน์
- เทศน์แจง น. เทศน์สังคายนา ซึ่งต้องอธิบายรายละเอียดเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของการทำสังคายนาพระพุทธศาสนา โดยเฉพาะในการสังคายนาครั้งแรก.
- การเทศนา การให้โอวาท บทสวด การอบรมศีลธรรม ธรรมเทศนา
- การเทศน์ การพูดยืดยาวที่น่าเบื่อ การให้โอวาท เทศน์
ประโยค
- พุทธศาสนิกร่วมรับฟังเทศน์มหาชาติเฉลิมพระเกียรติ
- ว่าไม่มีประโยชน์ที่จะนั่งฟังเทศน์กับคณะประสานเสียง
- ชิน ตอนนี้ฉันยังไม่พร้อม จะฟังเทศน์หรอกนะ
- เราเดินผ่านด้านหน้าของที่นั่งฟังเทศน์
- ไปนั่งฟังเทศน์อาจจะหมายถึง
- ฉันต้องได้ฟังเทศน์โง่ๆ
- ฉันเบื่อฟังเทศน์แล้ว
- เราไม่อยากฟังเทศน์
- อยู่ในกริยาที่สงบและสำรวมกิริยาอาการเมื่อพูดคุยหรืออยู่ต่อหน้าพระสงฆ์ขณะฟังเทศน์ฟังธรรม