ฟ้อนลาวแพน คือ
- น. การจับระบำชนิดหนึ่ง ใช้ผู้แสดงชายหญิงคู่หนึ่งหรือมากกว่า แต่งกายอย่างไทยภาคเหนือ รำออกท่าหยอกเอินประกอบคำร้องและดนตรี, ฟ้อนแพน หรือ รำลาวแพน ก็เรียก.
- ฟ้อ ๑ ว. เสียงดังเช่นนั้นอย่างงูเห่าขู่. ๒ ว. เพริศพริ้ง, กระชุ่มกระชวย, สดชื่น, เช่น หนุ่มฟ้อ ยังฟ้ออยู่.
- ฟ้อน ก. รำ, กราย.
- อน อะนะ- เป็นคำปฏิเสธ แปลว่า ไม่, ไม่ใช่, ใช้ประกอบหน้าศัพท์บาลีและสันสกฤตที่ขึ้นต้นด้วยสระ เช่น อาทร = เอื้อเฟื้อ, อนาทร = ไม่เอื้อเฟื้อ. ( ดู อ ๒
- อนล อะนน น. ไฟ; พระอัคนี. ( ส. ).
- ลา ๑ น. ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิด Equus asinus ในวงศ์ Equidae ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับม้า รูปร่างคล้ายม้าแต่ตัวเล็กกว่า หูยาว ปลายหางเป็นพู่
- ลาว ๑ น. ชื่อประเทศและชนชาติที่อยู่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนติดต่อกับไทย เขมร เวียดนาม พม่า และจีน, เรียกเต็มว่า
- แพ น. ไม้ไผ่หรือซุงเป็นต้นที่ผูกมัดเรียงติดกันมาก ๆ สำหรับใช้เป็นพาหนะทางน้ำ หรือล่องมาขาย เช่น แพไม้ไผ่ แพซุง แพหยวกกล้วย,
- แพน ๑ ก. แผ่ออก, กระจายออกไป, เช่น นกยูงแพนหาง นกพิราบแพนหาง. น. หางนกบางชนิดที่แผ่ออกไปเป็นแผ่น เช่น แพนหางนกยูง แพนหางนกพิราบ,
- พน พน, พะนะ- น. ป่า, พง, ดง. ( ป. , ส. วน).
- รำลาวแพน น. การจับระบำชนิดหนึ่ง ใช้ผู้แสดงชายหญิงคู่หนึ่งหรือมากกว่าแต่งกายอย่างไทยภาคเหนือ รำออกท่าหยอกเอินประกอบคำร้องและดนตรี, ฟ้อนแพน หรือ ฟ้อนลาวแพน ก็เรียก.
- ฟ้อนแพน น. การจับระบำชนิดหนึ่ง ใช้ผู้แสดงชายหญิงคู่หนึ่งหรือมากกว่า แต่งกายอย่างไทยภาคเหนือ รำออกท่าหยอกเอินประกอบคำร้องและดนตรี, ฟ้อนลาวแพน หรือ รำลาวแพน ก็เรียก.
- พราวแพรว ว. เลื่อม, แวววาว, วับ ๆ วาบ ๆ พราย ๆ, พราว, แพรวพราว แพรวพราย หรือ พรายแพรว ก็ว่า.
- ปลาแพนฟิช เนื้อปลาแพนฟิช
- คนลาว ภาษาลาว ชาวลาว
- หินลาวา หินภูเขาไฟ