ภาคียะ คือ
- ว. ควรแบ่งเป็นส่วน, เป็นส่วน.
- ภา น. แสงสว่าง, รัศมี. ( ป. , ส. ).
- ภาค พาก, พากคะ- น. ส่วน เช่น ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ, ฝ่าย เช่น ภาครัฐบาล ภาคเอกชน ภาคเหนือ ภาคใต้, บั้น, ตอน, เช่น หนังสือภูมิศาสตร์ ภาคต้น
- ภาคี น. ผู้มีส่วน, ผู้เป็นฝ่าย. ( ป. ; ส. ภาคินฺ).
- ยะ ๑ คำประกอบข้างหน้าคำที่ตั้งต้นด้วย ย ในบทกลอน มีความแปลอย่างเดียวกับคำเดิมนั้น เช่น ยะยอง ยะยั่ง ยะยัด ยะย้อย ยะย้าย. ๒ ว.
- ระยะหยุดภาค การย้ายออก การลา การหยุดงาน การหยุดภาค การออกไป ระยะหยุดงาน วันนักขัตฤกษ์ เวลาว่าง
- ภาติยะ น. ลูกของพี่ชายน้องชาย, หลาน. (ป.; ส. ภาตฺรีย).
- ภาค- พาก, พากคะ- น. ส่วน เช่น ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ, ฝ่าย เช่น ภาครัฐบาล ภาคเอกชน ภาคเหนือ ภาคใต้, บั้น, ตอน, เช่น หนังสือภูมิศาสตร์ ภาคต้น หนังสือประวัติศาสตร์ภาคปลาย พงศาวดารภาค ๑, คราว เช่น การศึกษาภาคฤ
- จุลภาค น. เครื่องหมายวรรคตอนรูปดังนี้ , สำหรับคั่นวรรคตอนของข้อความ, จุดลูกน้ำ ก็เรียก; ภาคเล็ก.
- ดลภาค น. พื้นราบ.
- ดุลภาค ดุนละ- น. ภาวะที่เสมอกัน.
- ทวิภาค น. ๒ ส่วน. (ส.).
- ทวิภาคี (การทูต) ว. สองฝ่าย. น. เรียกสัญญาระหว่างประเทศที่มีคู่สัญญา ๒ ฝ่ายว่า สัญญาทวิภาคี (bilateral treaty).
- ทวิวิภาค การแบ่งเป็นสองกลุ่ม
- ธุวภาค น. เส้นแวงอันไม่เปลี่ยนที่แห่งดาวซึ่งประจำที่อยู่.
- บุพภาค น. ส่วนเบื้องต้น. (ป. ปุพฺพภาค).