ภาพพจน์ คือ
สัทอักษรสากล: [phāp phot] การออกเสียง:
"ภาพพจน์" การใช้"ภาพพจน์" อังกฤษ"ภาพพจน์" จีน
ความหมายมือถือ
พาบพด
น. ถ้อยคำที่เป็นสำนวนโวหารทำให้นึกเห็นเป็นภาพ, ถ้อยคำที่เรียบเรียงอย่างมีชั้นเชิงเป็นโวหาร มีเจตนาให้มีประสิทธิผลต่อความคิด ความเข้าใจ ให้จินตนาการและถ่ายทอดอารมณ์ได้อย่างกว้างขวางลึกซึ้งกว่าการบอกเล่าที่ตรงไปตรงมา. (อ. figure of speech).
- ภา น. แสงสว่าง, รัศมี. ( ป. , ส. ).
- ภาพ พาบ, พาบพะ- น. ความ, ความมี, ความเป็น, มักใช้ประกอบเป็นส่วนท้ายของคำสมาส เช่น มรณภาพ ว่า ความตาย; รูปที่ปรากฏเห็นหรือนึกเห็น เช่น ภาพทิวทัศน์
- พจน พดจะนะ-, พด น. คำพูด, ถ้อยคำ. ( ป. วจน).
- พจน์ ๑ พดจะนะ-, พด น. คำพูด, ถ้อยคำ. ( ป. วจน). ๒ ( คณิต ) น. สัญลักษณ์ที่แทนจำนวนจริงหรือจำนวนเชิงซ้อน
- จน ๑ ว. อัตคัดขัดสน, ฝืดเคือง, มีเงินไม่พอยังชีพ. ก. แพ้ เช่น หมากรุกจน; หมดทาง เช่น จนใจ คือ ไม่มีทางที่จะทำได้อย่างคิด, จนตรอก คือ ไม่มีทางไป,
- การใช้ภาพพจน์ การอุปมาอุปไมย การใช้ความเปรียบ
- ทำให้มองเห็นภาพพจน์ ทำให้มองเห็น นึกภาพ
- ผู้ทำลายภาพพจน์ ผู้ทำลายรูปบูชา
- ผู้มีภาพพจน์จากการฟัง ผู้รู้สึกได้ดีจากการฟัง
- ปาพจน์ น. คำเป็นประธาน, พุทธวจนะ, คำบาลี. (ป. ปาวจน).
- สภาพจนตรอก ทางตัน สภาพเข้าตาจน การหาทางออกไม่ได้
- ภาพพิมพ์ n. ภาพที่เกิดจากการพิมพ์ ตัวอย่างการใช้: ชาวเขมรบางกลุ่มได้พยายามอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมดั้งเดิม โดยผ่านงานศิลปหัตถกรรม ภาพเขียนและภาพพิมพ์ clf.: ภาพ
- ภาพจริง (แสง) น. ภาพที่เกิดจากกระจกเว้าหรือเลนส์นูน ลักษณะเป็นภาพหัวกลับ ใช้จอรับได้.
- คนทุพพลภาพ คนพิการ
- ที่ทุพพลภาพ ไม่แข็งแรง ที่เจ็บป่วย
ประโยค
- ชั้นเป็นห่วงว่าภาพพจน์ของคนอื่นๆจะเสียหมดน่ะสิ
- ภาพพจน์เป็นทุกอย่างของนักแสดงนะ ปรับปรุงตัวด้วย
- เขาปล่อยให้อารมณ์ฉุนเฉียว ทำลายภาพพจน์ของตัวเอง
- ถ้าเป็นเราสองคน ก็จะเพิ่มภาพพจน์ของกันและกันได้
- ทั้งหมดที่ฉันทำก็เพื่อตัวฉัน เพื่อภาพพจน์ของฉัน
- บริการโรงแรมของเราต้องสนับสนุน ภาพพจน์ของประเทศ
- งั้น ผมคิดว่าเราต้อง " ทำลาย " ภาพพจน์ของคุณแล้วล่ะ
- ไม่ได้ เธอต้องมีภาพพจน์ของสาวเจ้าน้ำตา อีกครั้ง
- คงจะน่าเบื่อมาก ถ้าบุคลิกเหมือนกับภาพพจน์ ว่าไหม
- ตอนนี้ ชั้นอยากเห็นภาพพจน์ที่แสนเปรี้ยวจริงๆ เลย