ภาษาแบบแผน คือ
สัทอักษรสากล: [phā sā baēp phaēn] การออกเสียง:
"ภาษาแบบแผน" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
- น. ภาษาที่ถือเป็นแบบฉบับที่จะต้องใช้เป็นแบบเดียวกันในโอกาสอย่างเดียวกัน เช่น คำกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ขึ้นต้นว่า “ขอเดชะ...” และลงท้ายว่า “ควรมิควรแล้วแต่จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า...”, ภาษาที่ใช้เป็นทางการในโอกาสสำคัญ หรือใช้แก่บุคคลสำคัญ หรือบุคคลสำคัญเป็นผู้ใช้ เช่น คำประกาศเกียรติคุณในการประสาทปริญญาบัตรกิตติมศักดิ์ คำปราศรัยของนายกรัฐมนตรีในวันขึ้นปีใหม่, ภาษาระดับพิธีการ ก็เรียก.
- ภา น. แสงสว่าง, รัศมี. ( ป. , ส. ).
- ภาษ พาด ก. พูด, กล่าว, บอก. ( ส. ; ป. ภาส).
- ภาษา น. ถ้อยคำที่ใช้พูดหรือเขียนเพื่อสื่อความของชนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง เช่น ภาษาไทย ภาษาจีน หรือเพื่อสื่อความเฉพาะวงการ เช่น ภาษาราชการ ภาษากฎหมาย
- แบ ก. แผ่ให้แบนออก เช่น แบมือ, กางแผ่ออก เช่น แบหนังสือไว้. ว. อาการที่เปิดแผ่หรือวางทิ้งไว้อย่างไม่เอาใจใส่เป็นต้น เช่น นอนแบ เปิดแบไว้ ทิ้งแบไว้.
- แบบ น. สิ่งที่กำหนดให้ถือเป็นหลักหรือเป็นแนวดำเนิน, ตัวอย่าง เช่น ลอกแบบ เลียนแบบ; อย่าง เช่น คนแบบนี้; ตำรา เช่น แบบเรียน; รูปลักษณะ เช่น แบบเสื้อ
- แบบแผน น. ขนบธรรมเนียมที่กำหนดใช้หรือที่เคยประพฤติปฏิบัติสืบต่อกันมา.
- แผน ๑ น. สิ่งที่กำหนดถือเป็นแนวดำเนิน เช่น วางแผน, แบบ, ตำรา, เช่น แผนโบราณ แผนปัจจุบัน. ๒ ( โบ ; กลอน ) น. เรียกพระพรหมว่า ขุนแผน เช่น
- ซึ่งมีแบบแผน ซึ่งดําเนินตามแบบแผน ซึ่งเป็นระเบียบ
- มีแบบแผน adv. อย่างมีขนบธรรมเนียมที่กำหนดใช้ คำตรงข้าม: ไร้แบบแผน ตัวอย่างการใช้: ท่านทำการค้าอย่างมีแบบแผน สมควรที่ผู้อื่นจะเอาเป็นแบบอย่าง
- แบบแผนผัง แผนที่ ต้นฉบับ ผัง เค้าโครง แบบ แบบแปลน แปลน แผนการ โครงสร้าง
- แบบแผนต้นแบบ โรดแมพ ไกด์ไลน์
- ระเบียบแบบแผน ธรรมเนียม พิธี พิธีรีตอง แบบแผน ประเพณี ขนบธรรมเนียม จารีต จารีตประเพณี ประเพณีนิยม พิธีการ แบบพิธี ผู้ยึดถือขนบธรรมเนียมเฉพาะ วิธีปฎิบัติ ธรรมเนียมปฏิบัติ ลักษณะเฉพาะ การยึดถือขนบธรรมเนียมเฉพาะ
- เกี่ยวกับแบบแผน เกี่ยวกับแผนการ เกี่ยวกับแผนผัง เกี่ยวกับโครงการ
- เข้าแบบเข้าแผน ก. ถูกต้องตามแบบแผน, เป็นไปตามแบบ, เช่น ตัวละครเข้าแบบ.
- คนทำแบบแผน คนยกร่าง คนร่าง คนร่างแบบ ช่างวาด ช่างสเก็ตช์ภาพ ผู้เชี่ยวชาญในการสเก็ตช์ภาพ หมากรุก